Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/620
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ฉัตรวรัญช์ องคสิงห | - |
dc.contributor.author | เทวากร คำสัตย์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-02-20T06:43:24Z | - |
dc.date.available | 2022-02-20T06:43:24Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/620 | - |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (ผู้นำทางสังคม ธุรกิจ และการเมือง)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาอัตลักษณ์ทางสังคมของนักศึกษาชาวจีน 2) ศึกษาเพศสภาพของนักศึกษาชาวจีน และ 3) ศึกษาการเลื่อนชั้นทางสังคมของนักศึกษาชาวจีนโดยมีวิธีการดำเนินการวิจัย ประกอบด้วย 1) การศึกษาเอกสารและงานวิจัย (Documentary Research) 2) การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) กับกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการแนะนำต่อ (Snow Ball) 3) การสัมภาษณ์กลุ่ม (Focus Group Discussion) กับกลุ่มตัวอย่างที่รวมกลุ่มอย่างน้อย 5-7 คน เพื่อรวบรวมข้อมูลความคิดเห็น 4) การสังเกตการณ์ (Observation) โดยวิธีการลงพื้นที่ภาคสนามที่สาขาวิชาภาษาไทยในมหาวิทยาลัยสาธารณรัฐประชาชนจีน เพื่อรวบรวมข้อมูลจากพื้นที่ สังเกตวิธีการสื่อสาร การมีปฏิสัมพันธ์และการมีส่วนร่วม ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษาชาวจีนที่ศึกษาภาษาไทยในมหาวิทยาลัยสาธารณรัฐประชาชนจีนได้สะท้อนอัตลักษณ์ทางสังคม ดังนี้ 1) อัตลักษณ์ทางสังคมที่เกิดจากการเรียนรู้ภาษาไทย 2) อัตลักษณ์ใหม่ ตัวตนใหม่จากการศึกษาภาษาไทย 3) ความเสรีของเพศสภาพเมื่อได้ศึกษา ภาษาไทย 4) การเลื่อนชั้นทางสังคมด้วยการศึกษาภาษาไทย ผู้วิจัยมุ่งเน้นการศึกษาอัตลักษณ์จากมิติ ของการสื่อสารภาษาไทยของนักศึกษาชาวจีน รวมทั้งการเปลี่ยนผ่าน/ถ่ายโอนอัตลักษณ์ทางสังคมอัตลักษณ์ทางภาษา และเพศสภาพ ดังนั้น งานวิจัยนี้จึงเพ่งเล็งไปที่อัตลักษณ์ของนักศึกษาชาวจีนที่ศึกษาภาษาไทย และได้สวมทับเข้าเป็นอัตลักษณ์ของตนกับการใช้อัตลักษณ์ทางภาษาในการศึกษา | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ภาษาไทย -- การสื่อสารทางภาษา | en_US |
dc.subject | อัตลักษณ์ | en_US |
dc.subject | นักศึกษาต่างชาติ -- จีน | en_US |
dc.title | การสื่อสารภาษาไทยกับอัตลักษณ์ทางสังคมของนักศึกษาชาวจีน | en_US |
dc.title.alternative | Thai communication and social identity of Chinese students | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The objectives of this research were 1) to study the social identity of Chinese’s university students, 2 ) to study the gender of Chinese’s university students, and 3 ) to study the social mobility of Chinese university students. The research was conducted using qualitative methods including 1) documentary research, 2) in-depth interviews with a sample group obtained through snowball sampling, 3 ) focus group discussion participated by 5 – 7 informants, and 4 ) field observation conducted at the Thai Language Department in a university in the People’s Republic of China. The result found that Chinese university students learning Thai Language in the People’s Republic of China reflected 1 ) social identity formed through Thai Language education, 2 ) a liberty of gender status from Thai language education, and 3 ) social mobility of Thai language education. The research emphasized the study of the identity on the basis of Chinese university students’ Thai communication as well as social identity, language, and gender transfer. Therefore, such Thai language identity finally engulfed them. | en_US |
dc.description.degree-name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาเอก | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | ผู้นำทางสังคม ธุรกิจและการเมือง | en_US |
Appears in Collections: | CSI-LSBP-D-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Teavakorn Khumsat.pdf | 3.84 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.