Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/651
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเด่น อยู่ประเสริฐ-
dc.contributor.authorณัฐพล อาสว่าง-
dc.date.accessioned2022-02-24T07:23:22Z-
dc.date.available2022-02-24T07:23:22Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/651-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ดศ.ม. (ดุริยางคศาสตร)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563en_US
dc.description.abstractงานวิจัยเชิงสร้างสรรค์ชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพือสร้างสรรค์บทประพันธ์ดนตรีแจ๊สบทใหม่ออเรียนทอลฟลาวเวอร์สำหรับวงบิกแบนด์ โดยเป็นบทประพันธ์เพลงที่มีแนวทำนองหลักมาจากการดัดแปลงทำนองเพลงไทยคำหวาน และเพื่อเผยแพร่บทประพันธ์ออกสู่สาธารณะชนในระดับประเทศและระดับนานาชาติ บทประพันธ์เพลงออเรียนทอลฟลาวเวอร์สำหรับบิกแบนด์ เป็นบทประพันธ์เพลงใหม่ที่มี การใช้ทำนองหลักอันเกิดจากการดัดแปลงทำนองเพลงไทยคำหวานในการนำเสนอ รวมถึงใช้เป็น แนวคิดสำคัญในการพัฒนาทำนองส่วนอื่นๆ ใช้มโนทัศน์ของดอกไม้ในการออกแบบโครงสร้าง โดยรวมของบทประพันธ์ โดยกำหนดให้ทำนองหลักอยู่ในตอนกลางของบทประพันธ์เพื่อเป็น ตัวแทนของเกสรดอกไม้ จากนั้นจึงนำทำนองดังกล่าวมาเป็นแนวคิดสำคัญเพื่อพัฒนาทำนองอื่นๆ ในตอนต้นและตอนท้ายของบทประพันธ์ เพื่อเป็นตัวแทนของกลีบดอกไม้ที่ห่อหุ้มเกสรเอาไว้ การ สร้างเสียงประสานในตอนต้นและตอนท้ายของบทประพันธ์มีแนวคิดสำคัญมาจากการกำหนดกลุ่ม โน้ตที่มีความสัมพันธ์คู่สี่-ห้า แล้วจึงเติมโน้ตเบสเพิ่มในภายหลังเพื่อสร้างคอร์ดต่างๆ ส่วนเสียง ประสานในตอนกลางมีแนวคิดมาจากใช้ความสัมพันธ์ V-I รวมถึงองค์ประกอบอื่นๆ เพื่อทำให้ คอร์ดโทนิกมีความสำคัญและความชัดเจนมากขึ้น แต่มิได้ยึดหลักการเสียงประสานเสียงตามแบบ แผนอย่างเคร่งครัด นอกจากนี้ยังมีการประพันธ์ทำนองรองขึ้นมาใหม่ให้มีลักษณะเป็นประโยค ถาม-ตอบสอดรับกับทำนองหลัก รวมถึงนำเอาทำนองหรือแนวคิดที่ถูกนำเสนอไปแล้วในมิติอื่นๆ กลับมาใช้ในมิติของทำนองรองเพ􀀊ือสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันตลอดบทประพันธ์เพลงen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectบทประพันธ์ -- เพลงen_US
dc.subjectดนตรีแจ๊สen_US
dc.subjectเพลง -- การแต่งคำประพันธ์en_US
dc.titleบทประพันธ์เพลงออเรียนทอลฟลาวเวอร์สำหรับบิกแบนด์en_US
dc.title.alternativeOriental flower for big banden_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe purpose of this creative research was to compose a new jazz composition, Oriental Flowers for Big Band, and to disseminate the composition nationally and internationally. The melody of the Thai traditional song, Kham Wan, was modified to create the main theme in Oriental Flowers for Big Band. The main theme was also used to develop other parts of the theme in this composition. The overall structure of the piece came from the visual concept of a flower. The main theme was placed in the middle section of the song comparable to the pollen in the middle of a flower. Then, the sub themes comparable to corollas surrounding the pollen were composed and inserted throughout the song from the beginning to the ending parts of the song. The harmony concept at the beginning and ending part came from the relationship of 4-5 intervals with a bass note to create various chords depending on the suitability and colors of the chords in the overall section. The harmony in the middle section embraced a V-I relationship concept with other elements to emphasize the sound of tonic chords to make them sound clearer than other parts of the song. Moreover, a question-answer counter melody was composed in harmony with the main theme. Counter melodies were repeatedly used in the song to unite all themes in the songen_US
dc.description.degree-nameดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
Appears in Collections:Ms-Music-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Natthaphon Asawang.pdf4.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.