Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/654
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเด่น อยู่ประเสริฐ-
dc.contributor.authorพศุตม์ ดวงจันทร์-
dc.date.accessioned2022-02-24T07:47:31Z-
dc.date.available2022-02-24T07:47:31Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/654-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ดศ.ม. (ดุริยางคศาสตร)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563en_US
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง คาเดนซาในทรัมเป็ตคอนแชร์โต (จูเซปเป ตาร์ตินี) : แนวทางการประพันธ์และวิธีการบรรเลง 1) เพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบช่วงคาเดนซา กระบวนที่หนึ่งและกระบวนที่สามจากบทเพลงทรัมเป็ตคอนแชร์โต ในบันไดเสียงดีเมเจอร์ ของจูเซปเป ตาร์ตินี 2) เพื่อประพันธ์คาเดนซากระบวนที่หนึ่งและกระบวนที่สามจากบทเพลงทรัมเป็ตคอนแชร์โต ในบันไดเสียงดีเมเจอร์ ของจูเซปเป ตาร์ตินี วิธิการดำเนินงานวิจัย ผู้วิจัยเริ่มจากการวิเคราะห์เปรียบเทียบการประพันธ์ช่วงคาเดนซาในกระบวนที่หนึ่งและกระบวนที่สาม ของศิลปินทรัมเป็ตสามท่าน ได้แก่ มอริส อังเดรย์ ไกวโด ซีเกอร์ และ พาโชว ฟลอเรส จากนั้นผู้วิจัยนำผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบดังกล่าวมาใช้เป็นแนวทางในการประพันธ์คาเดนซาในกระบวนที่หนึ่งและกระบวนที่สามจากบทเพลงทรัมเป็ตคอนแชร์โต ในบันไดเสียงดีเมเจอร์ ของจูเซปเป ตาร์ตินี โดยมีรายละเอียดของผลการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้ ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบช่วงคาเดนซาในกระบวนที่หนึ่งและกระบวนที่สาม พบว่าศิลปินทั้งสามท่านประพันธ์ในกระบวนที่หนึ่งเหมือนกัน คือ การใช้รูปแบบอาร์เปโจ และแตกต่างกัน คือ การใช้แนวทำนองในบทเพลงมาประพันธ์คาเดนซา การใช้ซีเควนซ์ การประพันธ์ในกระบวนที่สามเหมือนกัน คือ การใช้ซีเควนซ์ อาร์เปโจ โน้ตสามพยางค์เป็นองค์ประกอบหลัก นอกจากนี้มี พาโชว ฟลอเรส เพียงคนเดียว ที่ประพันธ์แตกต่างกันคือ ไม่ใช้แนวทานองในบทเพลงมาประพันธ์ ผลการประพันธ์ของผู้วิจัยในกระบวนที่หนึ่งและกระบวนที่สาม ผู้วิจัยได้นำผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบวิธีการประพันธ์ของศิลปินทั้งสามท่านมาประยุกต์ใช้เป็นแนวทางของตนเอง โดยใช้ อาร์เปโจ ซีเควนซ์ โน้ตโครมาติก และแนวทานองในบทเพลงมาประพันธ์en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectทรัมเป็ต -- เพลงและดนตรีen_US
dc.subjectคอนแชร์โตen_US
dc.subjectเพลงบรรเลง -- การแต่งคำประพันธ์en_US
dc.titleคาเคนซาในทรัมเป็ตคอนแซร์โต (จูเซปเป ตาร์ตินี) : แนวทางการประพันธ์และะวิธีการบรรเลงen_US
dc.title.alternativeCadenzas to Guiseppe Tartini’s trumpet concerto: composition and performance guidelinesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis study aimed to (1) establish a comparative analysis of the Trumpet Concerto in D major of Guiseppe Tartini's cadenza within the first and third movement from three artists and (2) compose a cadenza for the first and third cadenza from Trumpet Concerto in D major of Guiseppe Tartini. This research was divided into two parts: (1) the comparative analysis of Trumpet Concerto in D major of Guiseppe Tartini's first and third cadenza movement and the result from composing the first and third cadenza from Trumpet Concerto in D major of Guiseppe Tartini. The researcher, first of all, conducted a comparative analysis of the first and third movement’s cadenza of the Trumpet Concerto in D major of Guiseppe Tartini among three different trumpet artists who used the same material, the arpeggio pattern, to compose the first cadenza movement as well as the same technique, the partial use of the melodies, and the same sequence in their compositions of the first movement, In addition, all three artists used the similar sequence, arpeggio, and triplet in cadenza third movement. Only Pacho Flores was found not to apply the melody from the concerto to his own cadenza. The researcher applied the result of the comparative analysis to the composition of a cadenza with arpeggio, sequence, chromatic notes, and partial use of the melodiesen_US
dc.description.degree-nameดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
Appears in Collections:Ms-Music-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pasud Duangchan.pdf2.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.