Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/657
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเด่น อยู่ประเสริฐ-
dc.contributor.authorพีรพัฒน์ บัวนิลเจริญ-
dc.date.accessioned2022-02-24T08:17:49Z-
dc.date.available2022-02-24T08:17:49Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/657-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ดศ.ม. (ดุริยางคศาสตร)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการอิมโพรไวส์ของวินตัน มาร์ซาลิส, แบรนฟอร์ด มาร์ซาลิส และเคนนี เกิร์กแลนด์ ในบทเพลงแบลคโคดส์ ผู้วิจัยได้ทำการวิเคราะห์โดยมีประเด็นสำคัญต่าง ๆ ที่ประกอบไปด้วย 1) ความสัมพันธ์ของคอร์ดและบันไดเสียง 2) การพัฒนาโมทีฟ 3) ลักษณะจังหวะ 4) เสียงขั้นคู่สี่ และ 5) ทรัยแอดเมเจอร์วางซ้อน จากนั้นจึงนำเสนอโดยอธิบายตามหลักพื้นฐานทฤษฎีดนตรีแจ๊ส จากผลการวิจัยพบว่า วินตัน มาร์ซาลิส สร้างทำนองการอิมโพรไวส์ที่เรียบง่ายและมีความโดดเด่นในเรื่องการโน้ตเทนชัน โมดที่นำมาใช้มากที่สุดคือโมดโดเรียน เขาให้ความสำคัญกับการพัฒนาโมทีฟและมีความหนาแน่นลักษณะจังหวะปานกลางเป็นส่วนใหญ่ การสร้างทานองเสียงขั้นคู่สี่จากโน้ตเทนชันของคอร์ดและการใช้ทรัยแอดเมเจอร์วางซ้อนประดับทำนองปรากฎน้อยแต่น่าสนใจ แบรนฟอร์ด มาร์ซาลิส สร้างทำนองการอิมโพรไวส์ที่ซับซ้อนด้วยการผสมโมดและการเล่นนอกกรอบด้วยบันไดเสียงเพนตาโทนิก การพัฒนาโมทีฟมักใช้การทำซ้าด้วยการแปรโมทีฟที่เป็นวลีย่อยหลายครั้งในช่วงสั้นอย่างสมบูรณ์แบบ รวมทั้งมีจุดเด่นในเรื่องทำนองที่มีลักษณะจังหวะผิดปกติที่น่าสนใจอย่างมาก เคนนี เกิร์กแลนด์ สร้างทำนองอิมโพรไวส์ในรูปแบบที่หลากหลายและมีแนวทางในการจัดการทำนองที่สมบูรณ์แบบ ใช้ขั้นคู่เสียงจากโมดจำนวนมากให้ความสำคัญกับการพัฒนาโมทีฟ ลักษณะจังหวะ และเสียงขั้นคู่สี่เป็นช่วงยาวหลายห้องอย่างชัดเจน นำทรัยแอดวางซ้อนเมเจอร์มาใช้นำเสนอแนวคิดการเล่นนอกกรอบในรูปแบบน่าสนใจหลายครั้งen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการอิมโพรไวส์en_US
dc.subjectทฤษฎีดนตรีen_US
dc.subjectดนตรีแจ๊ซซ์en_US
dc.titleศึกษาการอิมโพรไวส์ของวินตัน มาร์ซาลิส, แบรนฟอร์ด มาร์ซาลิส และเคนนี เกิร์กแลนด์ ในบทเพลงแบลคโคดส์en_US
dc.title.alternativeImprovisations of Wynton Marsalis, Branford Marsalis and Kenny Kirkland in Black Codesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis research aimed to study improvisation techniques applied by Wynton Marsalis, Branford Marsalis and Kenny Kirkland in Black Codes. The research focused on the analysis of chord scale relationship, motif development, rhythmic, quartal sound and triadic superimposition based on jazz theories. The research result showed that Wynton Marsalis's improvisation emphasized listener-friendly melodies and a tonal harmonic sense by tension. Dorian mode was found mostly used. He mainly developed a motif with a moderate rhythmic density. Furthermore, some quartal sound and superimposition triad were found little used, but interesting melodic lines were found. Branford Marsalis's improvisation was complex. He applied modal mixture and played outside over pentatonic major scales. His motif development was perfectly conducted using repetitions and variation with an emphasis on cell motif in short phrases. In addition, he showed a sense of enigmatic rhythmic conception very interestingly. Kenny Kirkland composed his improvised melody in a variety of formats, and organized melodies perfectly. Most of his melodic lines were intervals from modal structures. He always emphasized the elements of motif development, and rhythmic and quartal sounds in long phrases. Furthermore, his outside playing format was the frequent use of superimposition triadsen_US
dc.description.degree-nameดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
Appears in Collections:Ms-Music-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pheeraphat Buanincharean.pdf4.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.