Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/659
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเด่น อยู่ประเสริฐ-
dc.contributor.authorภูวนันท์ภัส เชื้อเมือง-
dc.date.accessioned2022-02-24T08:24:00Z-
dc.date.available2022-02-24T08:24:00Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/659-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ดศ.ม. (ดุริยางคศาสตร)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563en_US
dc.description.abstractงานวิจัยฉบับนี้นำเสนอแบบฝึกหัดสำหรับเทเนอร์แซกโซโฟนจากการบรรเลงคีตปฏิภาณของ สแตนลีย์ เทอร์เรนทีน ในขณะสังกัดค่ายซีทีไอเรคคอร์ด ผู้วิจัยได้ใช้บทเพลงชูการร์, สตอร์ม และยิบรอลต้า ในการวิเคราะห์หาลักษณะเด่นในการบรรเลงคีตปฏิภาณของ สแตนลีย์ เทอร์เรนทีน จากบทเพลงข้างต้น เพื่อทำการอธิบายลักษณะเด่นด้วยแนวคิดพื้นฐานในดนตรีแจ๊ส จากนั้น นำผลการวิเคราะห์ที่ได้มาสร้างเป็นแบบฝึกหัดสาหรับเทเนอร์แซกโซโฟน จากผลการวิเคราะห์การบรรเลงคีตปฏิภาณของเทอร์เรนทีน พบลักษณะเด่นในการการดำเนินทำนองด้วยโน้ตจากบันไดเสียงเพนตาโทนิกไมเนอร์ บันไดเสียงบลูส์ การใช้โน้ตสามพยางค์ โมทีฟจังหวะ การพัฒนาจังหวะ การเคลื่อนออกของลักษณะจังหวะ โคลเทรนลิค และการใช้เทคนิคสำหรับแซกโซโฟน จากนั้นได้นำผลการวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวมาสร้างเป็นแบบฝึกหัดจำนวน 10 บท โดยวางเนื้อหาแบบฝึกหัดให้สอดคล้องกับผลการวิเคราะห์เพื่อให้ผู้ฝึกได้ทำความเข้าใจลักษณะเด่นของเทอร์เรนทีน ทั้งยังได้เรียงระดับจากง่ายไปหายากตามลำดับ ก่อนการใช้แบบฝึกหัดผู้วิจัยแนะนำให้ผู้มีความรู้ในแซกโซโฟนและทฤษฏีดนตรีดนตรีแจ๊สในระดับกลางขึ้นไปหรือเทียบเท่ากับระดับ 4-6 จากการแบ่งระดับในงานวิจัยเรื่องอินโคเปอเรทติงแจ๊สอินทูเดอะสตัทดี้ออฟ แซกโซโฟนแอทดิอันเดอร์เกรดูเอทเลเวล โดยเจฟฟรี่ดับเบิ้ลยูเบเนดิค แบบฝึกหัดยังได้กำหนด การดำเนินคอร์ดแบบ ii V I เนื่องจากสามารถพบได้บ่อยในการบรรเลงดนตรีแจ๊ส เพื่อให้ผู้ฝึกสามารถนาแบบฝึกหัดไปใช้ในการบรรเลงได้en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectแซกโซโฟน -- แบบฝึกหัดen_US
dc.subjectเพลงบรรเลงen_US
dc.subjectทฤษฎีดนตรีen_US
dc.titleแบบฝึกหัดสำหรับเทเนอร์แซกโซโฟนจากการบรรเลงคีตปฏิภาณของสแตนลีย์ เทอร์เรนทีนen_US
dc.title.alternativeExercises for tenor saxophone from Stanley Turrentine’s improvisationsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis research presents tenor saxophone exercises based on the improvisations of Stanley Turrentine under CTI Records. The researcher selected the three songs of Stanley Turrentinen including Sugar, Storm, and Gibraltar for the analysis of their notable characteristics. The purpose of this analysis was to clarify the basic notable characteristics of jazz for the creation of tenor saxophone exercises. The results found that Stanley’s songs comprised pentatonic scales, blues scales, triplets, rhythmic motive, motive development, rhythmic displacement, john coltrane lick, and saxophone techniques. The results were applied to the creation of ten tenor saxophone exercises. The exercises ranging from easy to difficult were designed for learners with knowledge of saxophone and jazz theories or level 4-6 learners as graded by Benedict (1992) in his study entitled “Incorporating Jazz into the Study of Saxophone at the Undergraduate Level: a Graded Index of Materials and Recommendations for their Use”. Besides, the exercises included practices of ii V I chords in major scale frequently found in jazz improvisationen_US
dc.description.degree-nameดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
Appears in Collections:Ms-Music-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Phuwananphat Chuamuang.pdf3.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.