Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/668
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เฉลิมพร เย็นเยือก | - |
dc.contributor.author | กุศลิน เจริญศิวกรณ์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-02-25T02:59:36Z | - |
dc.date.available | 2022-02-25T02:59:36Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/668 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (รป.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2563 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)ศึกษาสภาพปัญหาด้านยาเสพติดในพื้นที่ 2)ศึกษาการปฏิบัติตาม พระราชบัญญัติยาเสพติดโทษปี พ.ศ. 2560 ( ฉบับที่ 6 ) ภายใต้ตามนโยบายต่อต้านยาเสพติดในเขตพื้นที่ 3) เสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการปัญหายาเสพติดตามพระราชบัญญัติยาเสพติดโทษปี พ.ศ. 2560 ( ฉบับที่ 6 ) ในพื้นที่อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย โดยการทำวิจัยในครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ และทำการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ 3 กลุ่ม คือ เจ้าหน้าที่ภาครัฐ จำนวน 5 ท่าน นักวิชาการ จำนวน 4 ท่าน ผู้นำชุมชนและชาวบ้าน จำนวน 5 คน ผลการศึกษาพบว่า สภาพปัญหาในพื้นที่ของอำเภอแม่ฟ้ าหลวงนั้น มีผลมาจากสภาพภูมิศาสตร์ที่ ติดกับแหล่งผลิตยาเสพติดรายใหญ่ สภาพเศรษฐกิจที่ทำให้รายได้ในครัวเรือนน้อยลงไม่เพียงพอต่อการใช้จ่าย รวมถึงความอยากรู้อยากลองของเยาวชนและแนวโน้มยาเสพติดมีราคาถูกลงจึงทำให้มีการเข้าถึงได้ง่ายผลที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดทุกภาคส่วนทำให้เกิดการสูญเสียทั้งต่อบุคคลที่ทำให้ร่างกายเสื่อมโทรม เกิดปัญหาการทำร้ายร่างกายสืบเนื่อง และการยอมรับผู้ต้องคดียาเสพติดเข้าสู่สังคม ในด้านเศรษฐกิจและวัฒนธรรมทำให้ภาพลักษณ์ของประเทศที่กำลังพัฒนาดูเป็นสังคมยาเสพติดทำให้ความน่าเชื่อถือลดลงสูญเสียทรัพยากรบุคคลที่มีความรู้ความสามารถและแรงงานในการปฏิบัติงานทำให้ประเทศขาดรายได้ และมีการทุมงบประมาณในการแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นจำนวนมาก การดำเนินงานการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติยาเสพติดโทษปี พ.ศ. 2560 ( ฉบับที่ 6 ) ภายใต้ตามนโยบายต่อต้านยาเสพติดนั้นยังไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควรถึงแม้จะมีการปราบปรามอย่างจริงจังด้วยปัจจัยอื่นๆ มีการให้ข้อมูลแก้ชาวบ้านในพื้นที่ซึ่งมีการปฏิบัติงานในบางพื้นที่จากการเข้าถึงของเจ้าที่หน้าที่ ผู้นำที่มีศักยภาพที่ได้จัดทำแนวทางการปฏิบัติและแนวทางการส่งเสริมความรู้ให้แก่ชาวบ้าน เพื่อให้มีความรู้ถึงภัยของยาเสพติด ขั้นตอนการการแก้ไขปัญหายาเสพติด มีการนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการแก้ไขปัญหาว่างงาน และยากจนของชาวบ้านในพื้นที่อำเภอแม่ฟ้ าหลวง และควรมีการนำแนวความคิดในการพัฒนาอย่างยั่งยืนโดยยึดหลักนิตธรรมมาช่วยในการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการปัญหายาเสพติด | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | กฎหมายยาเสพติด -- เชียงราย -- อำเภอแม่ฟ้าหลวง | en_US |
dc.subject | ยาเสพติด -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | en_US |
dc.subject | ยาเสพติด -- การควบคุม -- กฎหมายและรเะบียบข้อบังคับ | en_US |
dc.title | ประสิทธิผลการนำพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษปี พ.ศ. 2560 (ฉบับที่ 6) ไปปฏิบัติในประเทศไทย กรณีศึกษาอำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย | en_US |
dc.title.alternative | Effectiveness of implementing Crotic Act,B.E. 2560 (no.6) policy in Thailand :a case study of Mefahluang District Chiangrai Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This study aimed to investigate drug problems in Mae Fah Luang District, Chiang Rai Province, examine the implementation of Narcotics Act (No. 6) B.E. 2560 (2017) in the district, and propose a guideline for improving the effectiveness of drug prevention. This study employed qualitative research methods. Data were collected through in-depth interviews with key informants including five government officials, four academics, and five community leaders and local people. The results showed that drug problems in Mae Fah Luang District were caused by the physical characteristics of the area since it connected a major drug-producing area, family’s financial problems, teenagers’ curiosity and experimentation with drugs, and cheaper prices of drugs. In terms of the country’s economy and culture, drug problems could destroy the country’s image and reliability. In addition, an increasing number of drug addicts reflected the number of potential citizens the country had lost. It also indicated that the country wasted a lot of budgets on prevention and suppression of drug abuse. However, it was found that the implementation of Narcotics Act (No. 6) B.E. 2560 (2017) was not successful although the drug abuse suppression had been performed continuously with the help from community leaders in promoting knowledge of negative effects of drug abuse among community members. In order to solve drug problems, the philosophy of sufficiency economy should be implemented in order to lift people out of poverty. In addition, the principles of sustainable development and the rule of law should be adopted for the effectiveness of drug abuse prevention and suppression | en_US |
dc.description.degree-name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | รัฐประศาสนศาสตร์ | en_US |
Appears in Collections: | PAI-PA-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Kusalin Charoensivakorn.pdf | 9.49 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.