Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/712
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุมาลี สว่าง-
dc.contributor.authorทิพานันท์ เพชรนาค-
dc.date.accessioned2022-03-01T08:35:49Z-
dc.date.available2022-03-01T08:35:49Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/712-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2561en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติและปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) กลุ่มอาหาร ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างงานวิจัย คือ ผู้บริโภคที่เคยซื้อสินค้าหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) กลุ่มอาหาร ที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 ตัวอย่าง โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน และเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย และทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติการทดสอบสถิติ Independent Sample: t-test, ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way Analysis of Variance (ANOVA: F-test)) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Linear Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า ผู้บริโภคที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 21-30 ปี มีสถานภาพโสด การศึกษาระดับปริญญาตรี ประกอบอาชีพพนักงานหรือลูกจ้างเอกชน และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ระหว่าง 15,001 - 25,000 บาท ในส่วนของปัจจัยทัศนคติ ได้แก่ ด้านความเข้าใจ ด้านความรู้สึก และด้านพฤติกรรม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ปัจจัยส่วนประสมการตลาด ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย และด้านการส่งเสริมการตลาด มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก และการการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ OTOP กลุ่มอาหาร มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า (1) เพศและอาชีพของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร ที่แตกต่างกัน มีการตัดสินใจซื้อสินค้าหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) กลุ่มอาหาร ต่างกัน ในขณะที่ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร ที่แตกต่างกัน มีการตัดสินใจซื้อสินค้าหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) กลุ่มอาหาร ไม่ต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (2) ปัจจัยทัศนคติ ได้แก่ ด้านความรู้สึกและด้านพฤติกรรม มีผลต่อ การตัดสิ นใจซื้ อสินค้าหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) กลุ่มอาหาร ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัย สำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) ปัจจัย ส่วนประสมทางการตลาด ได้แก่ด้านผลิตภณัฑ์และะด้านช่องทางจัดจาำน่าย มีผลต่อการตัด สินใจซื้อสินค้าหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) กลุ่มอาหาร ในเขตกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัย สำคัญ ทางสถิติที่ระดับ0.05en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectส่วนประสมทางการตลาด -- วิจัยen_US
dc.subjectผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ -- ไทย -- กรุงเทพมหานครen_US
dc.subjectสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์en_US
dc.titleการศึกษาทัศนคติและปัจจัยส่วนประสมการตลาด ที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) กลุ่มอาหาร ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeA study of attitude and marketing mix factors affecting the decisions of buying One Tambon One Product (OTOP) food group of consumers in Bangkoken_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis research aimed to study of attitude and marketing mix factors affecting the decisions of buying One Tambon One Product (OTOP) food group of consumers in Bangkok. The sample group consisted of 400 consumers who used to buy one tambon one product (OTOP) products, food groups that live in Bangkok. The instrument was a questionnaire. The researcher analyzed data using frequency, percentage, mean, standard deviation, Independent Sample: t-test, one-way analysis of variance (ANOVA: F-test) and multiple linear regression analysis. The results of this research shows most respondent were female who are about 21 to 30 years old, single status and have 15,001 - 25,000 baht per mount for their salary. Moreover they have bachelor degree and working as officer of private company. From data analysis respondents Attitude factors include Cognitive, Affective, and Behavioral with a high average. Marketing mix factors include Product, Price, Place and Promotion with a high average. And the decision to buy OTOP products in food groups has a high level. The results of testing hypothesis found that: (1) The different of Gender and Occupation affect the decisions of buying one tambon one product ( otop) food group of consumers in Bangkok. The different of Age, status, education level and average monthly income rate has no effect of the decisions of buying one tambon one product ( otop) food group of consumers in Bangkok with statistically significant level of 0.05 (2) The Attitude factors include Affective and Behavioral correlated to the decisions of buying one tambon one product ( otop) food group of consumers in Bangkok with statistically significant level of 0.05 (3 ) The Marketing mix factors include Product and Place correlated to the decisions of buying one tambon one product ( otop) food group of consumers in Bangkok with statistically significant level of 0.05en_US
dc.description.degree-nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineบริหารธุรกิจen_US
Appears in Collections:BA-BA-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tipanan Phechnak.pdf3.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.