Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/742
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นิภา กิมสูงเนิน, รัชนี นามจันทรา | - |
dc.contributor.author | มณท์ธภัชรด์ สุนทรกุลวงศ์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-02T05:11:17Z | - |
dc.date.available | 2022-03-02T05:11:17Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/742 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2561 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยแบบพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาคุณภาพการจัดการความปวดหลังผ่าตัด ในสตรีหลังผ่าตัดคลอดบุตรทางหน้าท้อง ที่ได้รับการระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย ใช้ The Nursing Role Effectiveness Model เป็นกรอบการศึกษา กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เป็นพยาบาลวิชาชีพ 12 คน และเวชระเบียนสตรีหลังผ่าตัดคลอดบุตรทางหน้าท้อง 290 ราย ผลการวิจัย พบว่า คุณภาพด้านโครงสร้าง: ความรู้การจัดการความปวดหลังผ่าตัดของพยาบาลวิชาชีพ ระดับปานกลาง คุณภาพด้านกระบวนการ: การจัดการความปวดหลังผ่าตัดของพยาบาลวิชาชีพ แบ่งเป็น บทบาทอิสระ ระดับพอใช้ บทบาทตามแผนการรักษาและบทบาทร่วมกับทีมสุขภาพ ระดับดี คุณภาพด้านผลลัพธ์: ความปวดหลังผ่าตัดในระยะ 2-8 ชั่วโมง ระดับสูง 1 และ 12-40 ชั่วโมง ระดับปานกลาง และ 48-72 ชั่วโมงหลังผ่าตัด ระดับต่ำ ข้อเสนอแนะ ควรพัฒนาการศึกษาและแนวปฏิบัติการจัดการความปวดหลังผ่าตัดคลอดบุตรทางหน้าท้อง | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | การผ่าท้องคลอด | en_US |
dc.subject | ครรภ์ -- ศัลยกรรม | en_US |
dc.subject | ครรภ์ -- ความเจ็บปวด | en_US |
dc.subject | ความเจ็บปวด -- การจัดการ | en_US |
dc.title | คุณภาพการจัดการความปวดหลังผ่าตัด ในสตรีหลังผ่าตัดคลอดบุตรทางหน้าท้องที่ได้รับการระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย | en_US |
dc.title.alternative | Quality of postoperative pain management in women after cesarean section under general anesthesia | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This descriptive research was aimed at studying the quality of postoperative pain management in women after cesarean section under general anesthesia. The nursing role effectiveness model was a conceptual framework. A purposive sample of 12 professional nurses and 290 medical records of women after cesarean section were recruited for study. The results consider structural quality was found the knowledge of postoperative pain management of professional nurses was a moderate level. Process quality was found the pain management of the professional nurses was classified as an independent role was a moderate level, a dependent role and an interdependent role were a good level. Outcome quality was found the postoperative pain in 2 to 8 hours at a severe pain, 1 and 12 to 40 hours at a moderate pain, and 48 to 72 hours at a mild pain. Suggestion: To developed an education and a guideline of postoperative pain management in cesarean section. | en_US |
dc.description.degree-name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | การพยาบาลผู้ใหญ่ | en_US |
Appears in Collections: | Nur-Adult-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Monthaphat Sunthornkulwong.pdf | 3.42 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.