Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/743
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาภาพร นามวงศ์พรหม, น้ำอ้อย ภักดีวงศ์-
dc.contributor.authorสุรีพร มะณีรัตน์-
dc.date.accessioned2022-03-02T05:33:23Z-
dc.date.available2022-03-02T05:33:23Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/743-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2561en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบวัดหลังและมีกลุ่มเปรียบเทียบเพื่อศึกษาผลของการใช้ แนวปฏิบัติที่ปรับปรุงขึ้นจากหลักฐานเชิงประจักษ์ในการป้ องกันการเกิด Extravasation ในผู้ป่ วย มะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัดกลุ่ม FOLFOX กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัดที่เข้ารับการ รักษาในหอผู้ป่วย 14 โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ระหว่างเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2560 ถึงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2561 คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงจำนวน 70 ราย แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มเปรียบเทียบจำนวน 44 ราย ซึ่งได้รับการดูแลตามแนวปฏิบัติปกติของโรงพยาบาล และกลุ่มที่ใช้แนวปฏิบัติ จำนวน 26 ราย ซึ่งได้รับการดูแลโดยใช้แนวปฏิบัติในการป้องกันการเกิด Extravasation ที่ปรับปรุงจาก หลักฐานเชิงประจักษ์ เก็บรวบรวมข้อมูลประเมินการเกิด Extravasation ตั้งแต่ผู้ป่วยเริ่มได้รับเคมี บำบัดจนกระทั่งได้รับเคมีบำบัดครบ วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สถิติเชิง บรรยาย เปรียบเทียบความแตกต่างของการเกิด Extravasation ระหว่างกลุ่มใช้แนวปฏิบัติและกลุ่ม เปรียบเทียบโดยใช้สถิติ Fisher’s Exact test ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลโดยใช้แนวปฏิบัติตามปกติเกิด Extravasation จา นวน 6 คน (ร้อยละ 13.64) ในขณะที่กลุ่มที่ใช้แนวปฏิบัติที่ปรับปรุงขึ้นจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ไม่เกิด Extravasation เมื่อทดสอบด้วยสถิติ Fisher’s Exact test พบว่าไม่แตกต่างกัน (p = .078) ซึ่งความรุนแรงของการเกิด Extravasation อยู่ในระดับ 2 ทั้งหมด ผลการวิจัยแสดงให้เห็นถึงประโยชน์ของการนำแนวปฏิบัติที่ปรับปรุงขึ้นไปใช้ในโรงพยาบาล ผู้วิจัยเสนอแนะให้ทำวิจัยซ้า โดยเพิ่มขนาดของกลุ่มตัวอย่างให้มากขึ้นen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectผู้ป่วยมะเร็ง -- การพยาบาลen_US
dc.subjectมะเร็ง -- การรักษาด้วยเคมี -- วิจัยen_US
dc.subjectมะเร็ง -- ผู้ป่วย -- การดูแล -- วิจัยen_US
dc.subjectมะเร็งen_US
dc.titleผลของการใช้แนวปฏิบัติในการป้องกันการเกิด extravasation ต่ออัตราการเกิด extravasation ในผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัดen_US
dc.title.alternativeEffects of extravasation prevention practice guideline on extravasation in patients with cancer undergoing chemotherapyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis Posttest-only designs with comparison group aimed to investigate the effects of extravasation prevention practice guideline on extravasation in patients with cancer receiving FOLFOX regimen chemotherapy. A purposive sampling of 70 patients admitted to ward 14 of Chulabhorn Hospital during August 2017 to July 2018 was recruited for this study, 44 in comparison group received a standard care, 26 in intervention group received evidence-based care. Extravasation was assessed and collected during a cycle of chemotherapy. Data were analyzed by using descriptive statistics and Fisher’s Exact test. The findings showed that 6 patients (13.64%) in the comparison group had grade 2 extravasation injuries while there was none in the intervention group. Fisher’s Exact test was used to test the difference between two groups and found no significance (p = .078). It is suggested the benefit of using extravasation prevention practice guideline in the Hospital. Replication of research increasing number of subjects is also suggesteden_US
dc.description.degree-nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการพยาบาลผู้ใหญ่en_US
Appears in Collections:Nur-Adult-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sureeporn Maneerat.pdf2.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.