Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/754
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ติน ปรัชญพฤทธิ์, จุมพล หนิมพานิช | - |
dc.contributor.author | ภัครดา ฉายอรุณ | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-02T07:07:58Z | - |
dc.date.available | 2022-03-02T07:07:58Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/754 | - |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2561 | en_US |
dc.description.abstract | การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย่างยั่งยืนในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี มีวัตถุประสงค์ : 1) เพื่อศึกษาพัฒนาการ การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์วัฒนธรรมในแต่ละพื้นที่ของจังหวัดสุพรรณบุรี 2) เพื่อศึกษากลยุทธ์ หรือ ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์วัฒนธรรมในแต่ละพื้นที่ของจังหวัดสุพรรณบุรีให้เกิดความยั่งยืน 3) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์วัฒนธรรมในแต่ละพื้นที่ในจังหวัดสุพรรณบุรีให้เกิดความยั่งยืน งานวิจัยชิ้นนี้ได้สะท้อนถึงการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ให้เข้ามามีบทบาท ในการอนุรักษ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย่างยั่งยืน โดยวิธีการศึกษา เป็นการศึกษาในรูปแบบของการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาข้อมูลจากเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตแบบมีส่วนร่วม และไม่มีส่วนร่วม สัมภาษณ์แบบเจาะจงเฉพาะกลุ่ม ผลการศึกษาพบว่า การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์วัฒนธรรมในแต่ละพื้นที่ของจังหวัดสุพรรณบุรี มีลักษณะที่เป็นรูปธรรมอย่างเห็นได้ชัด การให้ความร่วมมือของทุกภาคส่วนนั้น สามารถทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง และก้าวทันบริบทที่เปลี่ยนไปของสภาพสิ่งแวดล้อม โดยใช้กลยุทธ์ที่จะพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์วัฒนธรรม ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่เหมาะสมกับพื้นที่ ในแต่ละตำบล และอำเภอ ในจังหวัดสุพรรณบุรี และจากการที่ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมนั้น เห็นได้ชัดว่า การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์วัฒนธรรม เป็นไปอย่างต่อเนื่อง และยั่งยืน ที่สามารถสรุปได้อย่างมั่นใจว่า การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม สามารถยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิผล และทำให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนในวันข้างหน้า และตลอดไป | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ -- ไทย -- สุพรรณบุรี | en_US |
dc.subject | การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม -- ไทย -- สุพรรณบุรี -- วิจัย | en_US |
dc.subject | การท่องเที่ยวแบบยั่งยืน -- สุพรรณบุรี | en_US |
dc.title | การมีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์วัฒนธรรมอย่างยั่งยืนในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี | en_US |
dc.title.alternative | Participation of the development of sustainable cultural conservation in the area of Suphanburi Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | Participation in sustainable cultural tourism conservation in Suphanburi province Aims to: 1. Study the development of cultural conservation tourism in each area in Suphanburi province. 2. Study strategies for the development of cultural tourism in each area in Suphanburi province to achieve sustainability. 3. Study the participation of all sectors in the development of cultural tourism in Suphanburi province to achieve sustainability. This research reflects the participation of all sectors to take part in the conservation of sustainable cultural tourism in Suphanburi province. This is a qualitative research whose methodology based on data gathered via documentaries past and present, in-depth interview, participative and non-participative and interview of specific groups. It was found from the study that participation from all sectors in Suphanburi province in the development of sustainable conservation of cultural tourism was and has been a vivid success in the eyes of Suphanburi dwellers, Thai and those from within and without Thailand Cooperation via participation of those concerned helped make the tourism a miracle. It brought and has been brought though policies, strategies and endeavor of Suphanburi dwellers that brought the “Suphanburi Bussiness” of the aforementioned tourism. It caused changes and kept pace with changes of a changing world of today. It helped and been helping the improvement and well-being of Suphanburi dwellers both now and in the future. It not only brought about efficiency, effectiveness, economy parsimony survival and sustainability of cultural conservation tourism Which Suphanburi dwellers can be proud of what they did, have done, and will do in the years to comes. | en_US |
dc.description.degree-name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาเอก | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | รัฐประศาสนศาสตร์ | en_US |
Appears in Collections: | PAI-PA-D-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Phakrada Chaiarun.pdf | 4.76 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.