Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/755
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมบูรณ์ สุขสาราญ, จุมพล หนิมพานิช | - |
dc.contributor.author | ณัฐณิชา สมฤทธิ์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-02T07:11:57Z | - |
dc.date.available | 2022-03-02T07:11:57Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/755 | - |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2561 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทำการศึกษาเหตุและผลที่ผู้หญิงเลือกที่ใช้ชีวิตอยู่ เพียงลำพังหรืออยู่เป็นโสด การบริหารจัดการชีวิต และการวางแผนการเข้าสู่วัยผู้สูงอายุเพื่อสะท้อน ให้ภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ตระหนักถึงความสำคัญของค่านิยมนี้ ใช้วิธีเก็บข้อมูล จากการศึกษาเอกสารปฐมภูมิและทุติยภูมิ การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) จากกลุ่มตัวอย่างผู้หญิงที่อยู่เป็นโสด จำนวน 25 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา (Descriptive Statistic)เพื่อสำรวจความเชื่อมโยงและความเป็นเหตุเป็นผลตามกรอบแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัย พบว่า การอยู่เป็นโสดของผู้หญิงมีปัจจัยหลักที่เชื่อมโยงแตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ บริบทของครอบครัว การศึกษา สังคมและเศรษฐกิจ ตลอดจนนโยบายของ ภาครัฐที่มีส่วนช่วยเกื้อหนุนต่อการตัดสินใจอยู่เป็นโสด ผลการวิจัยได้เสนอแนะนโยบาย เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้หญิงโสดให้สามารถดูแลตนเองได้ดังนี้ 1) การออมเงินเฉพาะ 2) กองทุนสารองเลี้ยงชีพสำหรับคนที่อยู่เป็นโสด 3) สินเชื่อบ้านพักอาศัยสำหรับคนโสด 4) สวัสดิการที่พักอาศัยเฉพาะคนโสด 5) ประกันสุขภาพในการรักษาพยาบาลเฉพาะ 6) การจ้างงาน เฉพาะ และ 7) ส่งเสริมการรวมกลุ่มของผู้หญิงโสดให้มีบทบาทในสังคม ข้อเสนอแนะดังกล่าว พิจารณาจากความต้องการใช้ชีวิตแบบเฉพาะตัวของผู้หญิงโสด ความมั่งคง และความปลอดภัย ในชีวิตวัยชรา โดยอ้างอิงจากหลักความเป็นไปได้ของการกำหนดมาตรการต่าง ๆ จากรัฐ | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | การดำเนินชีวิต | en_US |
dc.subject | สตรีโสด -- การดำเนินชีวิต | en_US |
dc.subject | คนโสด -- การดำเนินชีวิต | en_US |
dc.title | การบริหารชีวิตของผู้หญิงที่อยู่เป็นโสด | en_US |
dc.title.alternative | Life management of single women | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The objectives of this study were to investigate causes and effects as factors influencing on women’s decision to live a single life and how they managed and planned to live their lives and to have the government and relevant organizations to realize the importance of this current value. The data collection incorporated the review of primary and secondary documents and research as well as in-depth interviews with 25 single women who voluntarily and involuntarily live alone. The data were analyzed using descriptive statistics to discover the connection and reasons based on the conceptual framework theories. The results showed that women’ s decision to live alone was influenced by different factors upon their experience, their family and educational backgrounds, social and economic conditions, and government policies that contribute to such decision. The research proposed seven approaches for the promotion of these women’s living: 1) special savings, 2) providential fund for single people, 3) home loans for single people, 4) welfare housing for single people, 5) health insurance specialized for single people, 6) single people employment, and 7) establishment of single women networks. The proposed approaches were on the basis of their needs for living and future life security according to the possibility of the government’s related measures | en_US |
dc.description.degree-name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาเอก | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | รัฐประศาสนศาสตร์ | en_US |
Appears in Collections: | PAI-PA-D-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Natnicha Somrith.pdf | 3.49 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.