Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/764
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorTin Prachyapruit, ติน ปรัชญพฤทธิ์-
dc.contributor.advisorSomboon Suksamran, สมบูรณ์ สุขสำราญ-
dc.contributor.authorPichapen Sorum, พิชชาเพ็ญ ซอรัม-
dc.date.accessioned2022-03-02T08:05:34Z-
dc.date.available2022-03-02T08:05:34Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/764-
dc.descriptionThesis (Ph.D. (Public Administration)) -- Rangsit University, 2018en_US
dc.description.abstractในประเทศไทยการลาคลอดนั้นเป็นส่วนหนึ่งของกฎหมายแรงงาน และในสัญญาว่าจ้างจำเป็นต้องมีการระบุเงื่อนไขเรื่องการลาคลอด ซึ่งถือเป็นข้อบังคับภายใต้บทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 พระราชบัญญัติประกันสังคม (พ.ศ. 2533) พระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 และพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 ซึ่งล่าสุดได้ปรับเปลี่ยนจำนวนวันลาคลอดบุตรจาก 90 เป็น98 โดยให้สำนักงานประกันสังคมจ่ายเงินชดเชย 45 วันและ นายจ้างจ่ายเงินชดเชย 45 วันโดยมิได้เจาะจงในเรื่องของส่วนต่างที่เกิดขึ้น การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพที่มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหลักกฎหมายเพื่อการคุ้มครองผู้ลาคลอด ปัญหาที่เกิดจากการบังคับ ใช้กฎหมายลาคลอด ตลอดจนเปรียบเทียบกฎหมายลาคลอดของประเทศไทยกับประเทศอื่นๆ ทั้งในเอเชียและยุโรป โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลจากบทบัญญัติและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการลาคลอดในประเทศไทย ผลการวิจัยพบว่าแม้ประเทศไทยจะขยายเวลาลาคลอดจาก 90 วันเป็น 98 วันเพื่อให้สอดคล้องกับข้อกำหนดของ International Labor Organization (ILO) แต่กฎหมายไม่ได้กำหนดข้อบังคับท่ชัดเจนเรื่องการจ่ายค่าชดเชยตามจำนวนวันที่เพิ่มขึ้น เพราะถือว่าเป็นการข้อตกลงระหว่างลูกจ้างกับนายจ้าง ซึ่งอาจเป็นเหตุให้แรงงานหญิงเกิดความกดดันและจำเป็นต้องสละสิทธิที่ตนสมควรได้เพิ่มเติมตามกฎหมาย ปัญหาดังกล่าวเกิดจาก โครงสร้างทางกฎหมายที่อ่อนแอ ทั้งนี้แรงงานหญิงนั้นเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้เศรษฐกิจประเทศเติบโต และนโยบายเรื่องการลาคลอดก็เป็นนโยบายที่สำคัญต่อแรงงานหญิง เมื่อนโยบายไร้ความชัดเจนก็อาจส่งผลกระทบต่ออัตราการเกิดของประชากร และเศรษฐกิจในภายหน้า ทั้งนี้เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่น ๆ พบว่านโยบายของประเทศไทยนันมีความคล้ายคลึงกับประเทศในแถบเอเชีย แต่ยังล้าหลังกว่าประเทศในแถบยุโรปอย่างมาก อย่างไรก็ตามแม้ว่ากฎหมายการลาคลอดของไทยจะสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ของ International Labor Organization แต่ประเทศไทยจำเป็นต้องพัฒนานโยบายเพื่อให้บทบัญญัติและการบังคับใช้กฎหมายมีมาตรฐานและมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น เพื่อให้เกิดความเท่าเทียมกันในสังคมและส่งเสริมการลงทุนด้านทุนมนุษย์ในปฐมวัยเพื่อให้สังคมที่มีความเท่าเทียมกันมากยิ่งขึ้นen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherRangsit Universityen_US
dc.subjectLabor laws and legislation -- Thailanden_US
dc.subjectWomenFemale labor -- Employment -- Thailanden_US
dc.titleDevelopment of maternity law in Thailanden_US
dc.title.alternativeการพัฒนานโยบายการลาคลอดในประเทศไทยen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractIn Thailand, maternity leave is part of labor law. When women get employed, they must sign employment contracts as required by the provisions of the Civil and Commercial Code, the Labor Relations Act B.E.2518, the Social Security Act Amendment (No.4) B.E. 2558, and especially the Labor Protection Act (No.7) B.E.2562 allowing them to have a 98-day maternity leave with a 45-day pay from Social Security Office and a 45-day pay from their employers. The objectives of this qualitative research were to investigate Thai legal principles underlying maternity protection and problems arising from enforcing maternity leave laws, to compare Thai maternity laws, policies, and practices to other countries, and to provide recommendations for future policies. The qualitative methodology included document analysis and review of related literature. The results revealed that, despite the extended maternity leave period as required the International Labor Organization (ILO), the laws were found to specify insufficient legal obligations in relation to the pay, causing them to have work pressure and finally unwillingly renounce their right. Thai maternity protection was found problematic due to a weak legislative structure. Female labor significantly contributes to economic growth, so the vagueness of the maternity laws could probably cause negative impacts on the national birth rate as well as economy. Thai legal policies were similar to its Southeast Asian neighbors’ but comparatively lagged far behind European countries. Thai maternity laws then should be reformed to meet international legal standards and to promote human capital investment and social equality.en_US
dc.description.degree-nameDoctor of Philosophyen_US
dc.description.degree-levelDoctoral Degreeen_US
dc.contributor.degree-disciplinePublic Administrationen_US
Appears in Collections:PAI-PA-D-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pichapen Sorum.pdf6.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.