Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/803
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลักษณา คล้ายแก้ว-
dc.contributor.authorณัฐพล หล้ามณี-
dc.date.accessioned2022-03-03T04:00:30Z-
dc.date.available2022-03-03T04:00:30Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/803-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม. (นิเทศศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2561en_US
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง “ การเล่าเรื่องวิถีวัฒนธรรมญี่ปุ่นในละครซีรีส์เรื่อง อามะจัง สาวน้อยแห่งท้องทะเล ” เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเล่าเรื่องของละครซีรีส์เรื่อง “อามะจังสาวน้อยแห่งท้องทะเล” และเพื่อศึกษาการสื่อสารวัฒนธรรมญี่ปุ่นผ่านละครซีรีส์เรื่อง “อามะจังสาวน้อยแห่งท้องทะเล” โดยใช้แนวคิด ทฤษฏีโครงสร้างการเล่าเรื่องของละครโทรทัศน์ ผลการวิจัยพบว่าการเล่าเรื่องของละครซีรีส์เรื่องนี้มีการแบ่งโครงเรื่องออกเป็นโครงเรื่องหลักและโครงเรื่องย่อยเพื่อดึงดูดใจผู้ชม โดยโครงเรื่องหลักจะนาเสนอเกี่ยวกับการต่อสู้และการเผชิญปัญหาของตัวละครหลัก ส่วนโครงเรื่องย่อยจะมีการนาเสนอวิถีชีวิตของคนเมืองและชีวิตความเป็นอยู่ของไอดอลในโตเกียว ซึ่งแก่นเรื่องหลักของละครจะมุ่งนาเสนอเกี่ยวกับการสานึกรักในถิ่นฐานบ้านเกิดของคนในท้องถิ่นและการต่อสู้กับวิกฤติต่างๆเพื่อบ้านเกิดของตนเอง ส่วนรูปแบบความขัดแย้งในเรื่องส่วนใหญ่จะเป็นความขัดแย้งระหว่างคนกับคน ซึงมีนางเอกเป็นตัวเล่าเรื่องราวและช่วยดึงดูดความสนใจจากผู้ชมรูปแบบการสื่อสารวัฒนธรรมญี่ปุ่นผ่านละครซีรีส์ประกอบไปด้วยการสื่อสารวิถีวัฒนธรรมท้องถิ่นญี่ปุ่น วัฒนธรรมไอดอล(คนเมือง) และการผสมผสานของสองวัฒนธรรมโดยจะมีการสอดแทรกอยู่ในตอนต่างๆของเรื่อง โดยผู้สร้างละครซีรี่ส์ได้นาเสนอเรื่องวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นชนบทที่ผสมผสานกับค่านิยมของสังคมในเรื่องการตามหาความฝันของเด็กผู้หญิงในวงการไอดอลที่ถ่ายทอดออกมาได้อย่างลงตัวและสร้างแรงบันดาลใจต่อเด็กผู้หญิงอีกหลายๆคนen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectวิถีวัฒนธรรมen_US
dc.subjectละครโทรทัศน์ -- ญี่ปุ่นen_US
dc.subjectการเล่าเรื่องen_US
dc.subjectวัฒนธรรมญี่ปุ่นen_US
dc.titleการเล่าเรื่องวิถีวัฒนธรรมญี่ปุ่นในละครซีรีส์เรื่อง อามะจัง สาวน้อยแห่งท้องทะเลen_US
dc.title.alternativeNarration of Japanese cultural norm in television series “Amachan” (the little girl of sea)en_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe research regarding Narration of Japanese Cultural Norm in Television Series “Amachan, The Little Girl of Sea” is a qualitative research. The main purpose of the research is to study the narration of the series “Amachan, The Little Girl of Sea.” Besides, another aim of the research is to study Japanese cultural communication through the series, utilizing concepts as well as theories of narrative structure of television drama. It was found that the narration of the series was divided into the main plot and the subplot in order to attract an audience. The main plot is about how the main character fight and overcame her obstacles whereas the subplot presented about the Japanese lifestyle and idols in Tokyo. The outstanding theme of the series is the presentation of local people's love for their homeland as well as their struggles during crisis and natural disaster. The conflict in the story is mostly between people and people leading by the main character to capture audience’s attention. Japanese cultural communication model in the series comprised of local Japanese cultural communication, culture of idols including the combination of the two cultures. Moreover, the series director has successfully presented a unique of rural culture together with the values of people in the society with the dream of a girl in idol industry which inspired many other girls.en_US
dc.description.degree-nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineนิเทศศาสตร์en_US
Appears in Collections:CA-CA-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nattaphon Lamanee.pdf4.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.