Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/805
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิธวัฒน์ จรินทร์ธนันต์-
dc.contributor.authorฟิกรี กีไร-
dc.date.accessioned2022-03-03T04:28:20Z-
dc.date.available2022-03-03T04:28:20Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/805-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การสอนวิทยาศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2561en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และความคงทนในการเรียนรู้ทางการเรียนวิชาชีววิทยาเรื่อง อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต ด้วยการจัดการเรียนรู้รูปแบบ Macro model ร่วมกับเทคนิคแผนผังความคิด โดยกลุ่มเป้าหมายที่ศึกษาครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 605 และ 607 จำนวน ห้องละ 46 คน ณ สถานศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดปทุมธานี ในภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2561 ซึ่ง ได้มาจากการคัดเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบ Macro model ร่วมกับเทคนิคแผนผังความคิด เรื่อง อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต แบบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน แบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และแบบทดสอบความคงทนของการเรียนรู้ ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ Macro model มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 นอกจากนี้ ยังพบว่ามีการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังการจัดการเรียนรู้สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เช่นเดียวกับคะแนนของความคงทนในการเรียนรู้หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 จึงสามารถสรุปได้ว่าการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบMacro model ร่วมกับแผนผังความคิดสามารถส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และความคงทนในการเรียนรู้ที่ดีขึ้นen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการคิดอย่างมีวิจารณญาณen_US
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- กิจกรรมการเรียนการสอนen_US
dc.subjectการเรียนรู้ -- กิจกรรมการเรียนการสอนen_US
dc.titleการเปรียบเทียบการคิดอย่างมีวิจารณญาณและความคงทนในการเรียนรู้ วิชาชีววิทยาเรื่อง อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต ด้วยการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ MACRO Model ร่วมกับเทคนิคแผนผัง ความคิดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6en_US
dc.title.alternativeComparing critical thinking ability and learning retention towards biology on “kingdoms of life” by MACRO Model with mind map technique of 12th grade studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe objectives of this research were to compare learning achievement, critical thinking ability and learning retention level before and after learning Biology on Kingdoms of life by using Macro model with Mind map technique of 12th grade students. The purposive sampling was 12th grade students class 605 and 607 of academic year 2018 from a school in Pathum Thani province, which had 46 students per class. The research instruments were the lesson plans using Macro model with Mind map technique, the critical thinking test, and the learning retention test on Biology subject in Kingdoms of life. The research results showed that the students, who were taught by the lesson plan using Macro model with Mind map technique had posttest mean scores that were higher than the pretest mean scores and higher than 70 percent at the statistically significant .01. Moreover, the mean scores of critical thinking ability and learning retention level after using Macro model with Mind map technique were also higher than 70 percent at the statistically significant .01. The study concluded that using Macro model with Mind map technique could increase students learning achievement, critical thinking ability and learning retention level towards learning Biology.en_US
dc.description.degree-nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการสอนวิทยาศาสตร์en_US
Appears in Collections:EDU-TS-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fikree Kirai.pdf5.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.