Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/806
Title: | การพัฒนาความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยการจัดการเรียนรู้รูปแบบซิปปาร่วมกับเทคนิคการใช้คำถาม |
Other Titles: | The development of critical thinking ability and learning achievment in biology subject on topic gene and chromosome for grade 12 students by using Cippa model with question techniques |
Authors: | ปาณิสรา อำมะรีณ์ |
metadata.dc.contributor.advisor: | ธเนศ พงศ์ธีรัตน์ |
Keywords: | การคิดอย่างมีวิจารณญาณ;วิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- กิจกรรมการเรียนการสอน;ชีววิทยา -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) |
Issue Date: | 2561 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยรังสิต |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากระบวนการจัดการเรียนรู้ที่นำวิจัยปฏิบัติการใน ชั้นเรียนมาใช้จัดการเรียนรู้รูปแบบซิปปาร่วมกับเทคนิคการใช้คำถาม 2) พัฒนาความสามารถด้าน การคิดอย่างมีวิจารณญาณ 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน และ4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนรู้รูปแบบซิปปาร่วมกับเทคนิคการใช้คำถาม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 จำนวน 49 คน ณ สถานศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดนนทบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2561 ซึ่งได้มาจากการสุ่ม ตัวอย่างแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้รูปแบบซิปปาร่วมกับการใช้ คำถาม แบบทดสอบวัดความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจ ผลการวิจัยพบว่า 1) การนำกระบวนการวิจัยเชิง ปฏิบัติการในชั้นเรียนมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ ช่วยในการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ให้มีความ หลากหลาย ช่วยให้ผู้วิจัยทราบปัญหาของการจัดการเรียนรู้และแก้ไขได้ในทันที เกิดประสิทธิภาพ ในการจัดการเรียนรู้ 2) ความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาชีวิวทยา เรื่อง ยีนและ โครโมโซมหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 4) ความพึงพอใจของนักเรียน ต่อการจัดการเรียนรู้รูปแบบซิปปาร่วมกับเทคนิคการใช้คำถาม อยู่ในระดับมาก |
metadata.dc.description.other-abstract: | The objectives of this research were 1) to study classroom action research for approach to management the CIPPA model with the question technique 2) to develop critical thinking abilities 3) to compare the learning achievement in biology subject on topic gene and chromosomes pretest and posttest using CIPPA model and 4) to study the students' satisfaction of the CIPPA model with question technique. The sample group for this research was 49 students in grade 12 at a school in Nonthaburi province during the first semester of Academic Year 2018 were selected by cluster random sampling. The research instruments consisted of lesson plans via using CIPPA model with question technique on topic gene and chromosomes, critical thinking ability test and satisfaction questionnaires. The results of the research were as follows: 1) classroom action research processes in learning management help to develop diverse learning activities that the researcher to know the problems of learning management and solve immediately for efficiency in learning management 2) critical thinking ability of students posttest is higher than pre-test at the statistically significance .05 3) learning achievement of students in biology subject on topic gene and chromosomes posttest is higher than pre-test at the statistically significance .05 and 4) students' satisfaction for CIPPA model with question technique at high level |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การสอนวิทยาศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2561 |
metadata.dc.description.degree-name: | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
metadata.dc.description.degree-level: | ปริญญาโท |
metadata.dc.contributor.degree-discipline: | การสอนวิทยาศาสตร์ |
URI: | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/806 |
metadata.dc.type: | Thesis |
Appears in Collections: | EDU-TS-M-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Panisara Ammaree.pdf | 2.96 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.