Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/807
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธเนศ พงศ์ธีรัตน์-
dc.contributor.authorธนพร เลิศโพธาวัฒนา-
dc.date.accessioned2022-03-03T04:36:11Z-
dc.date.available2022-03-03T04:36:11Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/807-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การสอนวิทยาศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2561en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากระบวนการจัดการเรียนรู้ที่นำวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนมาใช้จัดการเรียนรู้สำหรับศตวรรษที่ 21: MACRO Model 2) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และ 4) ศึกษาเจตคติของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้สำหรับศตวรรษที่21: MACRO Model ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 วิชาชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม โดยกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาครั้งนี้เป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 31 คน ณ สถานศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดปทุมธานี ในภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2561 ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้สำหรับศตวรรษที่21: MACRO Model เรื่อง ยีนและโครโมโซม แบบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน แบบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และแบบวัดเจตคติของนักเรียน ผลการวิจัยพบว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้รูปแบบการจัดการเรียนรู้สำหรับศตวรรษที่21: MACRO Model พบว่า 1) การนำกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ ช่วยในการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ให้มีความหลากหลาย เกิดประสิทธิภาพในการจัดการเรียนรู้ ในหัวข้อของ 2) ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ หลังเรียนของนักเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หลังเรียนของนักเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 4) ค่าเฉลี่ยของเจตคติด้านเนื้อหาสาระ ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านสื่อการเรียนรู้ และด้านบทบาทครู โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.71, 3.92, 4.32 และ 4.36 ตามลำดับ ซึ่งอยู่ในเกณฑ์มีเจตคติที่ดีen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- กิจกรรมการเรียนการสอนen_US
dc.subjectชีววิทยา -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en_US
dc.subjectการจัดการเรียนรู้en_US
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาชีววิทยาเรื่อง ยีนและโครโมโซม โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้สำหรับศตวรรษที่ 21 MACRO Modelของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6en_US
dc.title.alternativeThe development of analytical thinking ability and learning achievement on topic of gene and chromosome in biology subject by using 21st century instructional model MACRO Model for grade 12 studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe purposes of this research were 1) to study classroom action research for approach to management MARCO model, 2) to compare of analytical thinking ability, 3) to compare of learning achievement and 4) study an attitude of students toward via using 21st century instructional model: MARCO model on biology topic of gene and chromosome in biology subject for grade 12 students. Thirty-one-grade 12 students from a school in Pathum Thani province during the first semester of Academic Year 2018 were selected by cluster random sampling. Research instruments were lesson plans via using 21st century instructional model: MARCO model, gene and chromosome learning achievement test, analytical thinking ability test and attitude questionnaire. Following the research indicated the students that were taught via using MACRO model: 1) classroom action research processes in learning management help to develop diverse learning activities and solve immediately for efficiency in learning management, 2) analytical thinking ability test have post-test mean scores were higher than pre-test mean scores of that at the statistically significant .01 level, 3) Gene and chromosome learning achievement test have post-test mean scores were higher than pre-test mean scores of that at the statistically significant .01 level. Moreover, 4) better attitude in teaching content, teaching model, teaching material, and instructor role with the mean score of 3.71, 3.92, 4.32 and 4.36, respectively from the maximum score of 5.en_US
dc.description.degree-nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการสอนวิทยาศาสตร์en_US
Appears in Collections:EDU-TS-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thanaporn Lerdphotawattana.pdf1.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.