Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/810
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธเนศ พงศ์ธีรัตน์-
dc.contributor.authorพงษ์ธลักษณ์ สิบแก้ว-
dc.date.accessioned2022-03-03T04:49:16Z-
dc.date.available2022-03-03T04:49:16Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/810-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การสอนวิทยาศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2561en_US
dc.description.abstractการวิจัยเชิงปฏิบัติการครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนากระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 โดยการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO 2) เพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา เรื่อง ระบบประสาท ของนักเรียน 3) เพื่อศึกษาเจตคติของนักเรียนที่มีต่อการจัดการ เรียนรู้แบบ MACRO โดยกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 36 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูลประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO เรื่อง ระบบประสาท แบบสังเกต พฤติกรรมการเรียนของนักเรียน แบบบันทึกภาคสนาม แบบวัดกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ และแบบวัดเจตคติของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนมีกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สามารถศึกษาความรู้อย่างเป็นลำดับ มีการวางแผนงานอย่าง เป็นระบบ และสามารถสรุปความรู้ได้ด้วยตนเองหลังการใช้การจัดการเรียนรู้แบบ MACRO 2) นักเรียนมีผลการเรียนรู้หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 โดย นักเรียนมีการอธิบาย อภิปราย และทบทวนความรู้ของตนเองในชั้นเรียน ทำให้จดจำเนื้อหาบทเรียน เรื่อง ระบบประสาท ได้ดีหลังการใช้การจัดการเรียนรู้แบบ MACRO และ 3) เจตคติของนักเรียนที่มี ต่อการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO เรื่อง ระบบประสาท โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.43 และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.63 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์เจตคติระดับมากen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- กิจกรรมการเรียนการสอนen_US
dc.subjectชีววิทยา -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en_US
dc.subjectการจัดการเรียนรู้en_US
dc.titleการพัฒนากระบวนการคิดอย่างเป็นระบบและผลการเรียนรู้วิชาชีววิทยา เรื่อง ระบบประสาท ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 โดยการจัดการเรียนรู้แบบ MACROen_US
dc.title.alternativeDevelopment of systematic thinking process and learning outcome on the topic of nervous system in biology for grade 11th student using MACRO learningen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe purposes of this action research were to: 1) develop systematic thinking process for grate 11th student by MACRO learning, 2) develop learning outcome on the topic of nervous system and 3) study student’s attitude towards MACRO learning. The sample consisted of 36 students in grade 11th who were selected by simple random sampling. The research tools were lesson plans on the nervous system, teaching observation form, field note, learning outcome measurement form, and student’s attitude on MACRO learning questionnaire. The data were analyzed by using mean and standard deviation. The research findings revealed that: 1 ) student’s systematic thinking process were significantly increased (p=0.05) after using the MACRO learning. Student could study the lesson by themselves as a sequence, systematically plan their work, and conclude their own knowledge. 2) Student’s learning outcomes were significantly increased (p=0.05) after using MACRO learning since they had explained, discussed, and repeated their knowledges in class to promote content recognition of nervous system lesson. and 3) The means of student’s attitude towards MACRO learning on the nervous system was 4.43 (S.D. = 0.63) which was in good level.en_US
dc.description.degree-nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการสอนวิทยาศาสตร์en_US
Appears in Collections:EDU-TS-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Phongthalak Sibkaew.pdf3.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.