Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/822
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดลฤทัย บุญประสิทธิ์-
dc.contributor.authorมัทนา ดวงกลาง-
dc.date.accessioned2022-03-03T05:52:21Z-
dc.date.available2022-03-03T05:52:21Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/822-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด. (การศึกษา)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2561en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาการใช้วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ตามขั้นตอน 5Es ในการส่งเสริมการพัฒนาทักษะการคิดของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5 2) เพื่อศึกษาพัฒนาการทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และวิพากษ์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5 3) ศึกษาผลสะท้อนการใช้วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ขั้นตอน 5Es กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนรัฐบาลแห่งหนึ่ง จังหวัดนครนายก ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 21 คน เครื่องมือที่ใช้ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 9 แผน 2) แบบทดสอบวัดทักษะการคิดก่อนเรียนและหลังเรียน จำนวน 30 ข้อ 3) แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 4) แบบประเมินผลสะท้อนกลับการใช้วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ตามขั้นตอน 5Es วิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณาและใช้สถิติ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้า (Repeated Measure ANOVA) วิเคราะห์ค่า t-test dependent และสถิติค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ว่า 1) การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และวิพากษ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จากการปฏิบัติกิจกรรมและการทดสอบทางการเรียน โดยวัดซ้าทักษะละ 3 ครั้ง มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักเรียนมีร้อยละการพัฒนา อยู่ในระดับสูงมาก ทั้ง 3 ทักษะ 3) คะแนนการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนแตกต่างกันย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 โดยคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน 4) นักเรียนมีพฤติกรรมขณะจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในระดับดีเยี่ยม 5) การประเมินผลสะท้อนกลับการใช้วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ตามขั้นตอน 5Es อยู่ในระดับมากที่สุดen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการสอน -- วิธีการen_US
dc.subjectทักษะการคิดen_US
dc.subjectความคิดอย่างมีวิจารณญาณen_US
dc.titleการใช้วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ตามขั้นตอน 5Es เพื่อส่งเสริมแชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ในโรงเรียนรัฐบาลแห่งหนึ่งen_US
dc.title.alternativeThe use of 5Es instructional model for inquiry-based teaching method to enhance thinking skill development of Mathayomsuksa 5 students in a public schoolen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe purposes of this study were to: 1) explore the use of 5Es instruction model for inquiry-based teaching method to enhance thinking skill development of Mathayomsuksa 5 students in a public school; 2) observe the students’ analytical, synthesis, and critical thinking skills through 5Es instruction model for inquiry-based teaching method; 3) obtain the reflections of the students, teacher, and observer on the use of 5Es instruction model for inquiry-based teaching method. Respondents were the Mathayomsuksa 5 students with lowest scores in a public school in Nakorn Nayok using purposive and quota sampling of 193 and 21 were obtained. Statistics used were percentage, means, standard deviation and Pearson’s Correlation Coefficient and Repeated Measure Anova. The results of the study were: 1) there was a statistical significant at .05 on students’ analytical, synthesis, and critical thinking skills through 5Es instruction model for inquiry-based teaching method; 2) there was a statistical significant at .05 of the students on pretest and posttest scores of the analytical, synthesis, and critical thinking skills; 3) the scores on the reflections of the students, teacher, and observer on the use of 5Es instruction model for inquiry-based teaching method were at the highest levels.en_US
dc.description.degree-nameศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาเอกen_US
dc.contributor.degree-disciplineการศึกษาen_US
Appears in Collections:EDU-ES-D-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Mattana Doungklang.pdf4.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.