Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/85
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศรีสมร พุ่มสะอาด | - |
dc.contributor.author | บุศราภรณ์ งามมานะ | - |
dc.date.accessioned | 2021-12-02T02:36:04Z | - |
dc.date.available | 2021-12-02T02:36:04Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/85 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสามารถในการอ่านจับใจความสําคัญภาษา อาหรับหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือในการอ่านและการเขียน : CIRC ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เทียบกับเกณฑ์ระดับผลการเรียนของโรงเรียน ร้อยละ 70 2) เปรียบเทียบความสามารถก่อนและหลังเรียน เป็นรายบุคคล ทั้งชั้น และจําแนกรายเรื่องของ บทอ่าน และ 3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการใช้เทคนิค CIRC กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จํานวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 4 แผน 2) แบบ วัดความสามารถในการอ่านจับใจความสําคัญภาษาอาหรับ 2 ฉบับ สําหรับวัดความสามารถก่อน และหลังเรียน และ 3) ประเด็นในการสัมภาษณ์กลุ่มนักเรียน 12 คน ผู้วิจัยจัดการเรียนรู้เป็นเวลา 4 สัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความ แตกต่างโดยการทดสอบค่าที (-test) และวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนมีความสามารถในการอ่านจับใจความสําคัญภาษาอาหรับ ในภาพรวมอยู่ในระดับดีเยี่ยม (ร้อยละ 83.33) 2) นักเรียนทุกคนได้คะแนนเพิ่มขึ้นหลังเรียน เมื่อเปรียบเทียบทั้งชั้นและรายเรื่องแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 3) นักเรียน มีความคิดเห็นว่า การเรียนตามรูปแบบนี้ ทําให้มีความรับผิดชอบ และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้เป็น อย่างดี | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ภาษาอาหรับ -- การอ่าน -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | en_US |
dc.subject | การอ่านตีความ | en_US |
dc.subject | การเรียนแบบร่วมมือกัน | en_US |
dc.title | การพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอาหรับ โดยใช้เทคนิค การเรียนแบบร่วมมือในการอ่านและการเขียน : CIRC ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 | en_US |
dc.title.alternative | Development of grade 7 students’ Arabic reading comprehension ability using cooperative integrated reading and composition : CIRC | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This research aimed to study Grade 7 students’ Arabic reading ability after treated by cooperative integrated reading and composition : CIRC in comparison with the school average criteria score of 70%; to compare their reading ability pretest and posttest scores by individual, class, and reading passage; and to study the opinions of students towards cooperative integrated reading and composition : CIRC. The samples were 40 Grade 7 students. The research tools included four learning management plans, apretest and a posttest of reading comprehension, and a group interview with 12 students. The data collection took 4 weeks. Data were analyzed by using percentage, mean, standard deviation, dependent t-test, and content analysis. The results revealed that the students' overall reading comprehension ability was excellent (83.33 %). All students’ posttest scores categorized by individual, class, and reading passage were higher than the pretest ones with a significance level of .01. According to the interview result, the students viewed that this learning method could promote their personal responsibility and enhance their problem-solving skills. | en_US |
dc.description.degree-name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | หลักสูตรและการสอน | en_US |
Appears in Collections: | EDU-CI-M-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Butsaraporn Ngammana.pdf | 78.37 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.