Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/894
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวศิณ ชูประยูร-
dc.contributor.authorเอกชัย ประเสริฐวงษ์-
dc.date.accessioned2022-03-10T05:59:01Z-
dc.date.available2022-03-10T05:59:01Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/894-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2561en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหาการจัดการความเสี่ยง เทคโนโลยีสารสนเทศของผู้ประกอบการ SMEs ในเขตอeเภอหนองแค จังหวัดสระบุรี อ้างอิง ตามกรอบมาตรฐาน ISO/IEC 27001:2013 ใน 5 มิติคือ ข้อมูล ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ บุคลากร และ เครือข่าย 2) ประเมินความเสี่ยงเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้ประกอบการ SMEs อ้างอิงตาม กรอบมาตรฐาน ISO/IEC 31000 และ 3) พัฒนาแนวทางการจัดการความเสี่ยงเทคโนโลยี สารสนเทศของผู้ประกอบการ SMEs การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้กรอบมาตรฐาน ISO/IEC 27001:2013 และมาตรฐาน ISO/IEC 31000 เป็นทฤษฎีหลักในการออกแบบการวิจัย ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ประกอบการ SMEs ในเขตอำเภอหนองแค จังหวัดสระบุรี จานวน 200 บริษัท ผู้ประกอบการตอบและส่ง แบบสอบถามกลับคืนมาครบเต็ม (ร้อยละ 100.00) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ก) สถิติ พื้นฐาน คือร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ ข) สถิติอ้างอิงเพื่อทดสอบสมมติฐาน คือ การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบพหุ และการวิเคราะห์ความถดถอยโลจิสติค ผลการวิจัย พบว่า สภาพปัญหาการจัดการความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง และแนวทางการจัดการความ เสี่ยงเทคโนโลยีสารสนเทศประสบปัญหาในระดับมาก ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นในภาพรวม เกี่ยวกับปัจจัย 5 มิติในระดับมากเช่นเดียวกัน ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่าปัจจัยที่มีอิทธิพล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ 1) การใช้ข้อมูลรายงานทางบัญชีเพื่อระบุที่มาของ สภาพปัญหาและสาเหตุของความเสี่ยงเทคโนโลยีสารสนเทศ 2) การประเมินความเสี่ยงคือการ ปรับปรุงแก้ไขอุปกรณ์ระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายให้ปลอดภัยจากภัยคุกคามภายนอก และ 3)แนวทางการจัดการความเสี่ยงคือการให้ผูู้เชียวชาญภายนอกแก้ไขปัญหาอุปกรณ์และเครือข่าย จากการทดสอบสมมติฐานดังกล่าวทำให้ได้ตัวแบบการจัดการความเสี่ยงเทคโนโลยีสารสนเทศ ของผู้ประกอบการ SMEs จำนวน 137 ตัวแบบ (สมการ) ซึ่งเป็นข้อมูลสำคัญในการพัฒนาเป็น แนวทางในการจัดการความเสี่ยงดังกล่าวen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการจัดการความเสี่ยงen_US
dc.subjectวิสาหกิจขาดกลางและขนาดย่อม -- สระบุรีen_US
dc.subjectเทคโนโลยีสารสนเทศ -- การบริหารความเสี่ยง -- วิจัยen_US
dc.titleการจัดการความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมในอำเภอหนองแค จังหวัดสระบุรีen_US
dc.title.alternativeInformation technology risk management of small and medium enterprises (smes) in Nong Khae district, Saraburi province.en_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe object of this thesis were to 1) study information technology risk management of SMEs in Nong Khae district Saraburi province base on ISO/IEC 27001:2013 in five areas information, hardware, software, personnel, and networks; 2) evaluate risk management of Information Technology of small and medium enterprises, (SMEs) with standard reference of ISO/IEC 31000; and 3) develop strategic guidelines of Information Technology of the SMEs. This a study was a quantitative research using ISO/IEC 27001:2013 and ISO/IEC 31000 as a conceptual frameworks for this research design. Questionnaires were developed as research tools for gathering empirical data from 200 SMEs in Nong Khae District, Saraburi province. Researcher received 100 percent of responses from the 200 samplings. The following statistic tools were used for data analysis: a) basic statistic such as percentage, average, and standard deviation and b) referential statistics to test research hypothesis, i.e. multiple regression and logistic multiple regression. Research findings revealed that environment problems, evaluations, and strategic guidelines of risk management are facing problems in high levels. Majority of respondents considered impact factors of the five areas in high levels as well. From the research hypothesis, it was found that the impact factor had its statistic significant result of 0.05 as follows: 1) Using financial report to identify the problem and root cause of information technology security risk, 2) Evaluation on risk management was to maintain and improve computer devices and prevent harmful from cyber intrusion derived from low network securities, and 3) Strategic guidance for risk management was to outsource experts to fix problems on computer devices and network. From the research hypothesis, it developed 137 prototypes (symmetry) of risk management for SMEs. The developed prototypes comprised important factors and guidance for risk management for the SMEs.en_US
dc.description.degree-nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศen_US
Appears in Collections:ICT-ITM-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Akachai Prasertwong.pdf5.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.