Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/89
Title: | การจัดการเรียนรู้เชิงรุกในยุคประเทศไทย 4.0 ของครูผู้สอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น |
Other Titles: | Active learning management of lower secondary education teachers in Thailand 4.0 |
Authors: | กนกวรรณ ฉัตร์แก้ว |
metadata.dc.contributor.advisor: | ศรีสมร พุ่มสะอาด |
Keywords: | ครู -- การพัฒนา;ครู -- ไทย;การจัดการเรียนรู้ |
Issue Date: | 2562 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยรังสิต |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการจัดการเรียนรู้เชิงรุกในยุคประเทศไทย 4.0 ของครูผู้สอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 2) ศึกษาความคิดเห็นของผู้เรียนระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูผู้สอน 3) เปรียบเทียบการปฏิบัติของครูผู้สอน และ ความคิดเห็นของผู้เรียน และ4) ศึกษาพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูผู้สอน และ พฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน กลุ่มตัวอย่างเป็นครูผู้สอน จํานวน 10 คน และผู้เรียน จํานวน 431 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบสังเกตพฤติกรรมสําหรับครูผู้สอน และผู้เรียน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยผู้วิจัย วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบแมน - วิทนีย์ (Mann – Whitney U Test) และวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) การจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูผู้สอน ในภาพรวม ปฏิบัติอยู่ในระดับมาก 2) ความคิดเห็นของผู้เรียนเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูผู้สอน ในภาพรวมปฏิบัติอยู่ใน ระดับมาก 3) ผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูผู้สอนมีค่าเฉลี่ยมากกว่า ความคิดเห็นของผู้เรียน แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ .05 4) ผลการสังเกต พฤติกรรมการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูผู้สอนในภาพรวม ปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง และผู้เรียน มีพฤติกรรมการเรียน ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก |
metadata.dc.description.other-abstract: | The purposes of this research were: 1) to study the state of active learning management of lower secondary education teachers in the Thailand 4.0 era, 2) to explore opinions of lower secondary education students, 3) to compare teachers' practice for the active learning management against students' opinions, and 4 ) to explore teachers’ active learning management behavior and students’ learning behavior. The samples consisted of 10 teachers and 431 students. The tools were questionnaires and behavior observation forms for teachers and students. Data were collected by the researcher. The data was analyzed by using frequency, percentage, mean and standard deviation, Mann-Whitney U Test, and content analysis. The results showed that the overall teachers’ active learning management was at a high level. The overall students’ opinions towards their teachers’ active learning management were at a high level. According to the comparative study, it was found that teachers’ active learning management practice was higher than students’ opinions. Differences were statistically significant at .01 and .05. According to the results of the observation, the overall teachers’ practice was at a medium level, and the overall students’ behavior was at a high level. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(หลักสูตรและการสอน)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562 |
metadata.dc.description.degree-name: | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต |
metadata.dc.description.degree-level: | ปริญญาโท |
metadata.dc.contributor.degree-discipline: | หลักสูตรและการสอน |
URI: | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/89 |
metadata.dc.type: | Thesis |
Appears in Collections: | EDU-CI-M-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Kanokwan Chatkaew.pdf | 48.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.