Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/916
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พัฒน์ พิสิษฐเกษม, อัมพล ชูสนุก | - |
dc.contributor.author | สุวิสา พลายแก้ว | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-24T04:46:25Z | - |
dc.date.available | 2022-03-24T04:46:25Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/916 | - |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (บธ.ด. (บริหารธุรกิจ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2560 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ (1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความยึดมั่นผูกพันในงานของบุคลากร ได้แก่ การสนับสนุนจากองค์การ การให้อำนาจเบ็ดเสร็จเชิงจิตวิทยา และความยุติธรรมในองค์การ ของบุคคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์ (2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในงานของบุคลากร อันได้แก่ การสนับสนุนจากองค์การ การให้อำนาจเบ็ดเสร็จเชิงจิตวิทยา ความยุติธรรมในองค์การ และความยึดมั่นผูกพันในงานของบุคคลากรมหาวิทยาลัยกลุ่มรัตนโกสินทร์ (3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงานของบุคลากร อันได้แก่ ความยึดมั่นผูกพันในงาน และความพึงพอใจในงานของบุคคลากรมหาวิทยาลัยกลุ่มรัตนโกสินทร์ (4) เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดล ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุอิทธิพลของการสนับสนุนจากองค์การ การให้อำนาจเบ็ดเสร็จเชิงจิตวิทยา และความยุติธรรมในองค์การต่อความยึดมั่นผูกพันในงาน ความพึงพอใจในงาน และผลการปฏิบัติงานของบุคลากรมหาวิทยาลัยกลุ่มรัตนโกสินทร์กับข้อมูลเชิงประจักษ์ ผู้วิจัยดำเนินการวิจัยเชิงปริมาณ โดยทำวิจัยเชิงประจักษ์ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฎกลุ่มรัตนโกสินทร์ จำนวน 523 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบโควต้า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ การหาค่าร้อยละ การหาค่าเฉลี่ย การหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง ผลการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างพบว่า โมเดลสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์อยู่ในเกณฑ์ดี ค่าสถิติไค-สแควร์ (χ2) มีค่าเท่ากับ 190.651 องศาอิสระ (df) มีค่าเท่ากับ 189 ค่าไค–สแควร์สัมพัทธ์ (χ2/df) มีค่าเท่ากับ 0.972 ค่า p–value มีค่าเท่ากับ 0.453 ค่าความสอดคล้องของดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) มีค่าเท่ากับ 0.972 ค่าดัชนีวัดระดับ ความกลมกลืนที่ (AGFI) มีค่าเท่ากับ 0.951 และค่าดัชนีค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) มีค่าเท่ากับ 0.004 นอกจากนี้ผลการวิจัยยังพบว่า (1) การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อความยึดมั่นผูกพันในงาน (2) การให้อำนาจเบ็ดเสร็จเชิงจิตวิทยามีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อความยึดมั่นผูกพันในงาน (3) ความยุติธรรมในองค์การมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อความยึดมั่นผูกพันในงาน (4) การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อความพึงพอใจในงาน (5) การให้อำนาจเบ็ดเสร็จเชิงจิตวิทยามีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อความพึงพอใจในงาน (6) ความยุติธรรมในองค์การมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อความพึงพอใจในงาน (7) ความยึดมั่นผูกพันในงานมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อความพึงพอใจในงาน (8) ความยึดมั่นผูกพันในงานมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อผลการปฏิบัติงาน (9) ความพึงพอใจในงานมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อผลการปฏิบัติงาน | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์ -- ความพึงพอใจในงาน | en_US |
dc.subject | ความผูกพันในงาน | en_US |
dc.subject | องค์การ -- บุคลากร -- วิจัย | en_US |
dc.title | อิทธิพลของการสนับสนุนจากองค์การ การให้อำนาจเบ็ดเสร็จเชิงจิตวิทยา และความยุติธรรมในองค์การต่อความยึดมั่นผูกพันในงาน ความพึงพอใจในงาน และผลการปฏิบัติงานของบุคลากรมหาวิทยาลัยราาชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์ | en_US |
dc.title.alternative | The influence of prganizational support, psychological empowerment, and prganizational justice on work engagement, job satisfacaction and employee job performance of Rajabhat University in Rattanagosin group | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | In this thesis, the researcher examines (1) organization support, psychological empowerment and organization justice as factors influencing work engagement of Rajabhat Universities in Ratanagosin Group. The researcher also investigates (2) organization support, psychological empowerment, organization justice and work engagement as factors influencing job satisfaction of Rajabhat Universities in Ratanagosin Group. Moreover, the researcher studies (3) work engagement and job satisfaction as factors influencing job performance of Rajabhat Universities in Ratanagosin Group. Finally, furthermore, the researcher determines (4) To validate a causal relationship model of the influence of organization support, psychological empowerment and organization justice on work engagement, job satisfaction and employee job performance of Rajabhat Universities in Ratanagosin Group. In this research inquiry, the researcher conducted a quantitative empirical research investigation. A questionnaire was used as a research instrument for collecting data from 523 employees representing of Rajabhat Universities in Ratanagosin Group. Utilizing the quota sampling method, the researcher selected the aforementioned members of the sample population. Using techniques of descriptive statistics, the researcher analyzed the data collected in terms of frequency distribution, percentage, mean, and standard deviation. Furthermore, the researcher also employed structural equation modeling (SEM) analysis. It was found that the model was consistent with the empirical data.The chi-square (χ2) was 190.651; degrees of freedom (df) = 189, (χ2/df) = 0.972, probability-value (p-value) = 0.453; goodness of fit index (GFI) = 0.972, adjusted goodness of fit index (AGFI) = 0.951; and root mean square error of approximation (RMSEA) = 0.004 It was also found that: (1) organization support had positive and direct influence on work engagement; (2) psychological empowerment had positive and direct influence on work engagement; (3) organizational justice had positive and direct influence on work engagement; (4) organization support had positive and direct influence on job satisfaction; (5) psychological empowerment had positive and direct influence on job satisfaction; (6) organizational justice had positive and direct influence on job satisfaction; (7) work engagement had positive and direct influence on job satisfaction; (8) work engagement had positive and direct influence on employee job performance; and (9) job satisfaction had positive and direct influence on employee job performance. Student’s | en_US |
dc.description.degree-name | บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาเอก | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | บริหารธุรกิจ | en_US |
Appears in Collections: | BA-BA-D-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Suwisa Plaikaew.pdf | 4.6 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.