Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/918
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุมาลี สว่าง | - |
dc.contributor.author | สุพรรษา ธนาอุยกุล | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-24T04:57:43Z | - |
dc.date.available | 2022-03-24T04:57:43Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/918 | - |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (บธ.ด. (บริหารธุรกิจ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2560 | en_US |
dc.description.abstract | การเติบโตของตลาดกลางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทยมีการแข่งขันกันสูงขึ้นเพื่อต้องการส่วนแบ่งทางการตลาดและการรักษาฐานผู้บริโภค ดังนั้นผู้ประกอบการจึงเล็งเห็นความสำคัญในการรักษาฐานผู้บริโภคโดยการหากลยุทธ์และวิธีการต่าง ๆ เพื่อให้ผู้บริโภคเกิดความภักดีต่อตลาดกลางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ดังนั้น ผู้วิจัยจึงนำแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาประยุกต์ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้เพื่อศึกษาการพัฒนารูปแบบการสร้างความภักดีของผู้บริโภคในตลาดกลางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทยการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพการให้บริการ ความไว้วางใจ ความพึงพอใจและการรับรู้คุณค่าของช่องทางออนไลน์ที่ผู้บริโภคได้รับมีอิทธิพลต่อความภักดีของผู้บริโภคในการซื้อสินค้าและบริการผ่านตลาดกลางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย (2) เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่สร้างความภักดีที่ทำให้ผู้บริโภคมาใช้บริการตลาดกลางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทยสำหรับการซื้อสินค้าและบริการ (3) เพื่อพัฒนารูปแบบการสร้างความภักดีของตลาดกลางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ผู้วิจัยทำการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริโภคที่เคยซื้อสินค้าผ่านตลาดกลางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย จำนวน 540 ชุด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ การหาค่าร้อยละ การหาค่าเฉลี่ย การหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐานและการวิเคราะห์สมการโครงสร้าง ผลจากการวิจัยพบว่า (1) คุณภาพการให้บริการมีอิทธิพลเชิงบวกต่อความไว้วางใจ (2) คุณภาพการให้บริการมีอิทธิพลเชิงบวกต่อความพึงพอใจ (3) คุณภาพการให้บริการมีอิทธิพลเชิงบวกต่อการรับรู้คุณค่าของช่องทางออนไลน์ (4) ความไว้วางใจมีอิทธิพลเชิงบวกต่อความพึงพอใจ (5) ความพึงพอใจมีอิทธิพลเชิงบวกต่อการรับรู้คุณค่าของช่องทางออนไลน์ (6) ความไว้วางใจมีอิทธิพลเชิงบวกต่อความภักดี (7) ความพึงพอใจมีอิทธิพลเชิงบวกต่อความภักดี (8) การรับรู้คุณค่าของช่องทางออนไลน์มีอิทธิพลเชิงบวกต่อความภักดี | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.subject | คุณภาพการให้บริการ | en_US |
dc.subject | ความพึงพอใจของผู้บริโภค | en_US |
dc.subject | พานิชย์อิเล็กทรอนิกส์ | en_US |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการสร้างความภักดีของผู้บริโภคในตลาดกลางพานิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย | en_US |
dc.title.alternative | Development of consumer loyalty patterns in the E-marketplace in Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The growth of the e-marketplace in Thailand has been increasingly competitive in order to gain market shares and maintain customers base. Therefore, the entrepreneurs recognize the importance of customer retention and find strategies and methods to make consumers to have become loyalty to the e-commerce market in Thailand. This research aims (1) to study the relationship between e-service quality, trust, satisfaction and perceived value of online channels gained by consumers that influence the loyalty of consumers in purchasing goods and services through the e-marketplace in Thailand. (2) to investigate factors that lead consumers to use the e-marketplace in Thailand in buying goods and services (3) to develop the loyalty creating pattern of the e-marketplace in Thailand. In this research inquiry, the researcher conducted a quantitative empirical research investigation. A online questionnaire was used as a research instrument for collecting data from 540 employees representing of e-marketplace in thailand. Utilizing the stratified random sampling method, the researcher selected the aforementioned members of the sample population. Using techniques of frequency distribution, percentage, mean, and standard deviation. Furthermore, the researcher also employed structural equation modeling (SEM) analysis. It was also found that : (1) e-service quality had a positive influence on trust (2) e-service quality had a positive on satisfaction (3) e-service quality had a positive influence on perceive online channel value (4) trust had a positive influence on satisfaction (5) satisfaction had a positive influence a perceive online channel value (6) trust had a positive influence on loyalty (7) satisfaction had a positive influence on loyalty (8) perceive online channel value had a positive influence loyalty. | en_US |
dc.description.degree-name | บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาเอก | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | บริหารธุรกิจ | en_US |
Appears in Collections: | BA-BA-D-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Supansa Tanauyakul.pdf | 2.6 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.