Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/920
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวารินทร์ บินโฮเซ็น, นํ้าอ้อย ภักดีวงศ์-
dc.contributor.authorมานะ ปัจจะแก้ว-
dc.date.accessioned2022-03-24T05:23:36Z-
dc.date.available2022-03-24T05:23:36Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/920-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2560en_US
dc.description.abstractการวิจัยเชิงทำนาย (Predictive Study) เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายผลลัพธ์ของการถอดท่อ ช่วยหายใจ ในกลุ่มผู้ป่ วยโรคทางอายุรกรรมที่มีภาวะการหายใจล้มเหลว กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบ เฉพาะเจาะจง เป็นเวชระเบียนของผู้ป่ วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคทางอายุรกรรมที่มีภาวะการหายใจล้มเหลวที่ใส่ท่อช่วยหายใจและใช้เครื่องช่วยหายใจ ในหอผู้ป่ วยหนักโรงพยาบาลสิงห์บุรี ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2556 ถึงธันวาคม 2559 ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 145 ราย เก็บข้อมูลโดยใช้ 1) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลด้านการเจ็บป่ วย 2) แบบบันทึกปัจจัยทำนายผลลัพธ์ของการถอดท่อช่วยหายใจได้แก่ การทดสอบภาวะหลอดลมบวม และ แรงไอ และ 3) แบบบันทึกผลลัพธ์ของการถอดท่อช่วยหายใจตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน ได้ค่า CVI = 1.00 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงบรรยาย Chi-square และ Binary Logistic Regression ผลการวิจัยพบว่า ร้อยละ 74.48 ของกลุ่มตัวอย่างสามารถถอดท่อช่วยหายใจได้สำเร็จ ปัจจัย ทำนายผลลัพธ์ของการถอดท่อช่วยหายใจได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) ได้แก่ แรงไอ (β = 3.187) ภาวะหลอดลมบวม (β = 1.601) และอายุ (β = 1.306) โดยร่วมกันทำนายได้ร้อยละ 32 (Cox and Snell R2 =.32) ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย การถอดท่อช่วยหายใจหลังการหย่าเครื่องช่วย หายใจบุคลากรทางสุขภาพควรต้องประเมินปัจจัยที่สำคัญ ได้แก่ ไอได้แรงดี และไม่มีภาวะ หลอดลมบวมเพื่อลดโอกาสเสี่ยงต่อการใส่ท่อช่วยหายใจซ้ำen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectผู้ป่วยวิกฤติen_US
dc.subjectผู้ป่วยหนัก -- การดูแลขั้นวิกฤตen_US
dc.subjectท่อช่วยหายใจ -- การพยาบาล -- วิจัยen_US
dc.titleปัจจัยทำนายผลลัพธ์ของการถอดท่อช่วยหายใจในผู้ป่วยวิกฤต หอผู้ป่วยหนักโรงพยาบาลสิงห์บุรีen_US
dc.title.alternativeFactors predicting outcome of extubation in critically ill patients in intensive care unit, Singburi Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis predictive study aimed to investigate predictive factors for extubation in patients with respiratory failure. The purposive samples were 145 medical records of patient with respiratory failure, and were intubated using medical ventilators in the Intensive Care Unit, Singburi Hospital, from October 2013 to December 2016. The data were collected using 1) personal information recording forms and patients’ medical histories, 2) recording forms of predictive factors for extubation including cough strength tests and laryngeal edema, and 3) extubation recording forms. The content validity index (CVI) of 1.00 was verified by three experts. Data were analyzed by descriptive statistics, chi-square and binary logistic regression. The result revealed that extubation in 74.48% of the samples was successful. Statistically significant predictive factors (p<.05) were cough strength (β = 3.187), laryngeal edema (β = 1.601), and age (β = 1.306); all of which could together predict 32% of the extubation outcome (Cox and Snell R2 =.32). It was recommended that, before extubation, health care providers should assess essential predictors to ensure the patients had satisfactory cough strength and no laryngeal edema to reduce reintubationen_US
dc.description.degree-nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการพยาบาลผู้ใหญ่en_US
Appears in Collections:Nur-Adult-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Mana Pachakawe.pdf1.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.