Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/924
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อำภาพร นามวงศ์พรหม, นํ้าอ้อย ภักดีวงศ์ | - |
dc.contributor.author | สุชาดา พุฒิเพ็ญ | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-24T05:47:00Z | - |
dc.date.available | 2022-03-24T05:47:00Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/924 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2560 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยปฏิบัติการแบบวัดก่อน-หลัง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการสนับสนุนและให้ความรู้ผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักที่ได้รับเคมีบาบัดสูตร FOLFOX ต่อความสามารถในการดูแลตนเอง การรับรู้ความรุนแรงของอาการข้างเคียง และศึกษากระบวนการของการนาโปรแกรมไปใช้ กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเฉพาะเจาะจงจานวน 31 ราย เข้าร่วมโปรแกรม เป็นระยะเวลา 9 สัปดาห์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกข้อมูลด้านความเจ็บป่วย แบบสอบถามความสามารถในการดูแลตนเอง แบบบันทึกความรุนแรงของอาการข้างเคียงของเคมีบาบัด และแบบบันทึกการดาเนินโปรแกรม วิเคราะห์ข้อมูลลักษณะของ กลุ่มตัวอย่างโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย เปรียบเทียบความสามารถในการดูแลตนเองด้วยสถิติ Repeated Measures ANOVA นำเสนอการรับรู้ความรุนแรงของอาการข้างเคียงทั้ง 5 อาการในรูปแบบกราฟ และวิเคราะห์กระบวนการของโปรแกรมจากบันทึกข้อมูลการปฏิบัติ เพื่อหาข้อสรุปของการนำโปรแกรมไปใช้ ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถในการดูแลตนเองเมื่อสิ้นสุดโปรแกรมสูงกว่าก่อนและระหว่างเข้าโปรแกรมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p < .001) การรับรู้ความรุนแรงของอาการข้างเคียงอยู่ในระดับน้อย และกระบวนการนาโปรแกรมไปใช้ซึ่งพบว่าได้ผลลัพธ์ที่ดี คือ ต้องตระหนักถึงปัญหาและความต้องการของผู้ป่วยเป็นหลักในการสอน การชี้แนะ และสนับสนุนให้กำลังใจ ทาให้ผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองได้ดีขึ้น | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | มะเร็งลำไส้ใหญ่ -- การรักษา | en_US |
dc.subject | ทวารหนัก -- มะเร็ง | en_US |
dc.subject | มะเร็ง -- การรักษาด้วยเคมี -- วิจัย | en_US |
dc.title | ความสามารถในการดูแลตนเอง และการรับรู้ความรุนแรงของอาการข้างเคียง ของเคมีบาบัดในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก ที่ได้รับโปรแกรมการสนับสนุนและให้ความรู้ | en_US |
dc.title.alternative | Self-care ability and perceived side effects intensity of chemotherapy in patients with colorectal cancer receiving educative-supportive program | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This Before-After Intervention Study aimed to investigate the effects of Educative-Supportive Program on self-care ability and perceived side effects intensity of chemotherapy in patients with colorectal cancer. The application process of the Educative-Supportive Program was also explored. A purposive sampling of 31 patients was recruited and attended the program for 9 weeks. Data were collected by using Personal Information sheet, Self-care ability questionnaire, Self-report of side effects intensity. Application process of the program was taken down by the researcher. Data were analyzed by using descriptive statistics, and repeated measures ANOVA. Content analysis was used to analyze the qualitative data regarding application process. The findings showed that self-care ability at the end of the program was significantly higher than those of before and between the program (p<.001). Furthermore, perceived side effects intensity were at a low level. It is suggested the benefit of program. Nurses’ concern on problems and needs of the patients should be a focus in using this program | en_US |
dc.description.degree-name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | การพยาบาลผู้ใหญ่ | en_US |
Appears in Collections: | Nur-Adult-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Suchada Phuthiphen.pdf | 4.8 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.