Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/934
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุวิทย์ รัตนานันท์ | - |
dc.contributor.author | พีรพงษ์ โพธิ์ปาน | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-24T08:14:37Z | - |
dc.date.available | 2022-03-24T08:14:37Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/934 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศล.ม. (การออกแบบ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2560 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้สนใจศึกษาเกี่ยวกับการเล่าเรื่องของภาพยนตร์เรื่อง จิตพิฆาตโลก (อังกฤษ: Inception) ที่มีการทับซ้อนกันเป็นชั้น ๆในรูปแบบของ เลเยอร์ (อังกฤษ: Layer) เป็นภาพยนตร์อเมริกันปี 2010 แนวนวนิยายวิทยาศาสตร์-แอ็กชัน เขียนบท อำนวยการสร้างและกำกับโดยคริสโตเฟอร์ โนแลน กล่าวถึงเรื่องราวของการจารกรรมความคิดจากจิตใต้สำนึกของมนุษย์ ซึ่งสอดคล้องกับ ทฤษฏีจิตวิเคราะห์ของซิกมุนด์ ฟรอยด์ ที่เชื่อว่าพฤติกรรมส่วนใหญ่ของมนุษย์มีแรงจูงใจมาจากจิตไร้สำนึก ซึ่งมักจะถูกผลักดันออกมาในรูปแบบของความฝัน โดยฟรอยด์ได้แบ่งจิตของมนุษย์ออกเป็น 3 ระดับ คือ จิตสำนึก, จิตก่อนสำนึก และ จิตไร้สำนึก เราจะเห็นได้ว่าการที่เราจะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมความคิดของมนุษย์ได้นั้นจะต้องเข้าไปเปลี่ยนแปลงจิตในระดับที่ลึกที่สุดคือจิตไร้สานึก ซึ่งคริสโตเฟอร์ โนแลนได้หยิบประเด็นนี้มาใช้ในการเล่าเรื่องภาพยนตร์จิตพิฆาตโลก โดยการลอบเข้าไปในความฝันของเป้าหมายทีละชั้นๆ จนถึงชั้นที่ลึกที่สุดเพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและความคิดของเป้าหมาย ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาโครงสร้างของภาพยนตร์ที่มีการเล่าเรื่องผ่านเลเยอร์ ที่ซ้อนทับกันอยู่ในรูปแบบของความฝันแต่ละชั้นๆ ตามระดับของจิตใต้สำนึกของมนุษย์ ผ่านกระบวนการออกแบบที่ได้แรงบรรดาลใจมาจากการเล่าเรื่องของภาพยนตร์ออกมาในรูปแบบของสมุดภาพ ที่สามารถดูได้ทั้งในรูปแบบของภาพ 2 มิติ และ 3 มิติ | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ภาพยนตร์สองมิติ | en_US |
dc.subject | ภาพยนตร์สามมิติ | en_US |
dc.subject | ภาพยนตร์ -- อังกฤษ | en_US |
dc.title | ความเป็นไปได้เชิงพื้นที่และโครงสร้างของภาพยนตร์ | en_US |
dc.title.alternative | The spatial and structural possibilities of film | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This study has examined the storytelling of a film called “Inception” through the portrayal of layers. Inception is an American Sci-Fi & action film with Christopher Nolan as its writer, producer, and director. The film is about the extraction of valuable information from the human’s subconscious. The story is in line with Sigmund Freud’s Psychoanalytic theory which argues that most of the human's behavior are the results of an unconscious mind which motivate people through dreams. According to Freud, there are three levels of the human’s mind: conscious, preconscious, and unconscious. In order to alter human’s behavior, it has to be performed in the deepest level of mind, the unconscious. With the basis of this notion, Christopher Nolan has applied it in the narration of Inception through the infiltration of the target’s levels of the dream world to the deepest one in order to alter behaviors and thoughts of the target. The author has been inspired to examine the film ‘structure with the narration through overlayed layers of the dream world in each level of human's conscious using the design process based on the film’s story and present it as the photograph album viewable in 2D and 3D. | en_US |
dc.description.degree-name | ศิลปมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | การออกแบบ | en_US |
Appears in Collections: | Art-AD-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Peeraphong Poparn.pdf | 2.73 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.