Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/957
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธเนศ สุจารีกุล | - |
dc.contributor.author | สิรินทร จันทร์ศร | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-30T06:21:27Z | - |
dc.date.available | 2022-03-30T06:21:27Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/957 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ – (น.ม. (นิติศาสตร์)) – มหาวิทยาลัยรังสิต, 2560 | en_US |
dc.description.abstract | การค้าบริการของประชาคมอาเซียนได้ดำเนินการเจรจาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1996 ภายใต้กรอบ ความตกลงว่าด้วยการค้าบริการของอาเซียน (ASEAN Framework Agreement on Services : AFAS)โดยมีวัตถุประสงค์ในการลดหรือเลิกข้อจำกัดในการเข้าสู่ตลาด (Limitations on Marketing Access)และข้อจำกัดในการปฏิบัติเยี่ยงคนชาติ (Limitation on National Treatment) ซึ่งเป็นการดำเนินการตามแผนงานการจัดตั%งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอาเซียน (AEC Blueprint) ที่กำหนดให้ประเทศสมาชิกอาเซียนต้องเปิดเสรีการค้าบริการระหว่างกัน 12 สาขาบริการซึ่งรวมถึงสาขาบริการประกันชีวิตด้วย โดยเป้าหมายสุดท้ายที่ประเทศสมาชิกอาเซียนต้องดำเนินการคืออนุญาตให้ผู้ให้บริการสัญชาติอาเซียนสามารถถือหุ้นในธุรกิจบริการได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ภายในปี ค.ศ. 2015 ในทุกสาขาบริการจากการศึกษาพบว่าปัจจุบันพระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) กำหนดให้ผู้ให้บริการสัญชาติอาเซียนสามารถเข้ามาประกอบธุรกิจได้เพียงในรูปแบบสาขาเท่านั้น และสามารถเข้ามาถือหุ้นได้เพียงร้อยละ 25 ของจำนวนหุ้นทั้งหมด ซึ่งผู้วิจัยเห็นว่ายังคงไม่ สอดคล้องกับเป้าหมายที่ AEC Blueprint ที่กำหนดไว้ และหากเปรียบเทียบกับประเทศสมาชิก อาเซียนอื่นๆ เช่น สิงคโปร์ เห็นว่าไทยเปิดเสรีน้อยกว่าสิงคโปร์ทั%งในด้านรูปแบบการประกอบธุรกิจ และสัดส่วนการถือหุ้นดังนั้น เมื่อ AEC Blueprint มีผลบังคับตามกฎหมายให้ไทยในฐานะประเทศสมาชิกอาเซียนมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามซึ่งหากไม่ปฏิบัติตามแล้วทำให้ไทยย่อมสูญเสียประโยชน์ที่จะได้รับและยังอาจส่งผลให้ไทยอาจต้องมีความรับผิดระหว่างประเทศจากการไม่ปฏิบัติตามพันธรกรณีด้วยจึงควรแก้ไข พระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) ในด้านรูปแบบการประกอบธุรกิจและสัดส่วนการถือหุ้นของผู้ให้บริการสัญชาติอาเซียนให้เท่ากับเป้าหมายตามที่ AEC กำหนด Blueprint และไทยควรเจรจาจัดทำตารางข้อผูกพันให้สอดคล้องกับเป้าหมายที่ AEC Blueprint กำหนด | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน -- ประกันภัย | en_US |
dc.subject | ประกันชีวิต -- การตลาด | en_US |
dc.subject | บริษัทประกันชีวิต -- การตลาด | en_US |
dc.title | การเปิดเสรีสาขาบริการประกันชีวิตภายใต้กรอบประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน | en_US |
dc.title.alternative | Liberalization of trade in services in the area of life insurance services under the ASEAN framework | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | Trade in services under ASEAN Framework has been negotiated since 1996 under ASEAN Framework Agreement on Services (AFAS). Its primary purpose is to reduce or eliminate the limitations on marketing access and the limitation on national treatment in services, which is the aim of AEC Blueprint to achieve the ASEAN Economic Community (AEC). The final purpose of the ASEAN Member states is to allow ASEAN service providers to hold foreign equity in all the services sectors concerned not less than 70 per cent starting from 2015. However, having researched thoroughly, this thesis has found that Thailand has not abided by the provisions of the AEC Blueprint aforesaid. It opens its service market, particularly life insurance service, only up to the maximum point where its domestic legislation, the Life Insurance Act B.E.2535 (1992), allows. Therefore, an ASEAN investor can only hold foreign equity participation up to 25% at most. This is contrary to the provisions of the AEC Blueprint. Moreover, comparing with other ASEAN Member State, e.g. Singapore, it is shown that Thailand has opened its service market less than Singapore. Non-compliance with the provisions of the AEC Blueprint to which Thailand, as an ASEAN Member State, has an obligation to conform, shall be treated as a violation to a treaty obligation. This may tarnish Thailand's reputation, and may result in Thailand’s state liability. Therefore, the Thai Life Insurance Act 1992 should be amended to conform to the AEC Blueprint aforementioned. | en_US |
dc.description.degree-name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | นิติศาสตร์ | en_US |
Appears in Collections: | Law-Law-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sirintorn Junsorn.pdf | 1.9 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.