Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/96
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุวรรณา เอี่ยมสุขวัฒน์ | - |
dc.contributor.author | สุพรรณี บุญถึง | - |
dc.date.accessioned | 2021-12-02T04:11:06Z | - |
dc.date.available | 2021-12-02T04:11:06Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/96 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาความสามารถในการเขียนและการใช้โปรแกรม ภาษา JavaScript Block Editor โดยใช้บอร์ด Micro : bit พิจารณาจากคะแนนระหว่างเรียนและหลัง เรียน และ 2) เปรียบเทียบความสามารถในการใช้และการเขียนโปรแกรมภาษา JavaScript Block Editor หลังเรียนเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม (เกณฑ์ของโรงเรียน) กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 2 จํานวน 26 คน ในโรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่ง จังหวัดลพบุรี เครื่องมือ ที่ใช้แผนการจัดการเรียนรู้ 5 แผน เรื่อง การเขียนและการใช้โปรแกรมภาษา JavaScript Block Editor บอร์ด Micro : bit และแบบทดสอบความสามารถในการเขียนและการใช้โปรแกรมภาษา JavaScript Block Editor โดยใช้ บอร์ด Micro : bit เครื่องมือทั้งหมดตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิง เนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ 3 คน มีค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.67-1.00 และแบบทดสอบเพื่อวัดความสามารถ ในการใช้และการเขียนโปรแกรมภาษา JavaScript Block Editor แบบทดสอบมีความยากอยู่ระหว่าง (p) 0.46-0.80 ค่าอํานาจจําแนก (1) อยู่ระหว่าง 0.20-0.62 เก็บรวบรวมข้อมูลโดย การจัดกระบวนการ เรียนรู้ 10 คาบ โดยใช้แบบทดสอบความสามารถในการใช้และการเขียนโปรแกรมภาษา JavaScript Block Editor ในแต่ละแผนการเรียนรู้ระหว่างเรียนและหลังเรียน แล้ววิเคราะห์โดยการหาค่าร้อยละ เปรียบเทียบระหว่างเรียน หลังเรียนโดยใช้เกณฑ์ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม ตามเกณฑ์ของโรงเรียนผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการพัฒนาความสามารถในการเขียนและการใช้โปรแกรมภาษา JavaScript Block Editor โดยใช้ บอร์ด Micro : bit พิจารณาจากคะแนนระหว่างเรียนและหลังเรียน พบว่า นักเรียนมีความสามารถในการเขียนและการใช้โปรแกรมภาษา JavaScript Block Editor คิด จากคะแนนค่าเฉลี่ยของคะแนนร้อยละเท่ากับ 76.79 ของคะแนนหลังเรียนสูงกว่าค่าเฉลี่ยของ คะแนนร้อยละเท่ากับ 74.00 ของคะแนนระหว่างเรียน แสดงว่านักเรียนสามารถพัฒนาความสามารถ ในการเขียนและการใช้โปรแกรมภาษา JavaScript Block Editor 2) ผลเปรียบเทียบความสามารถใน การใช้และการเขียนโปรแกรมภาษา JavaScript Block Editor หลังเรียนเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม (เกณฑ์ของโรงเรียน) รายบุคคล พบว่า จากนักเรียนทั้งหมด 26 คน มีนักเรียน 19 คน (ร้อยละ 73.08) มีคะแนนสูงกว่าร้อยละ 70 มีความสามารถในระดับดีเยี่ยมและดีมาก ในขณะที่ นักเรียน 7 คน (ร้อยละ 26.92) มีคะแนนต่ํากว่าร้อยละ 70 | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | จาวา สคริปต์ (ภาษาคอมพิวเตอร์) | en_US |
dc.subject | การเขียนโปรแกรม (คอมพิวเตอร์) -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | en_US |
dc.subject | เทคโนโลยีสารสนเทศ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | en_US |
dc.subject | กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี | en_US |
dc.title | การพัฒนาความสามารถในการเขียนและการใช้โปรแกรมภาษา JavaScript Block Editor โดยใช้ บอร์ด Micro : bit กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 | en_US |
dc.title.alternative | Development of proficiency in writiing and using JavaScript Block Editor on Micro:bit of grade 8 students in the subject area of occupation and technology | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This research aimed 1) to develop the proficiency in writing and using JavaScript Block Editor on the Micro:Bit of Grade 8 students in the subject area of occupation and technology and 2) to compare students’ proficiency against the school’s passing score of 70%. The subjects were 26 students studying Grade 8 in a private school in Lopburi Province. The instruments were five lesson plans on “Writing and Using JavaScript Block Editor on Micro:Bit” with the Index of Objective Congruence (IOC) ranging from 0.67-1.00 approved by three experts and a proficiency test on JavaScript Block Editor on Micro:Bit with a difficulty index (P) of 0.46-0.80 and an item discrimination of 0.20-0.62. Data analysis was conducted in ten class meetings using the proficiency test per lesson plan in both formative and summative assessments to discover scores obtained from the formative and summative assessments and compare them against the school’s passing score of 70%. The results showed that the average scores from the formative assessments and from the summative assessments were 74.00% and 76.79%, respectively, revealing that students’ proficiency washigher. The comparative study revealed that 19 out of 26 students (73.08%) scored higher than 70% and were found to have a highand a very high level of proficiency. The rest of them, 7 students (26.92%), were found to score lower than the school’s passing score of 70%. | en_US |
dc.description.degree-name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | หลักสูตรและการสอน | en_US |
Appears in Collections: | EDU-CI-M-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Supunnee Boontueng.pdf | 70.82 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.