Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/97
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กัลยรัตน์ หล่อมณีนพรัตน์ | - |
dc.contributor.author | ฐาปณี นาคภูมิ | - |
dc.date.accessioned | 2021-12-02T04:20:03Z | - |
dc.date.available | 2021-12-02T04:20:03Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/97 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ของครูระดับชั้นมัธยมศึกษาโรงเรียนโสตศึกษาในภาค กลาง 2) เปรียบเทียบการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ของครูระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนโสตศึกษาในภาคกลางและ 3) ศึกษาปัญหาและอุปสรรค จากการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ของครูระดับชั้นมัธยมศึกษาโรงเรียน โสตศึกษาในภาคกลาง กลุ่มตัวอย่างเป็นครูผู้สอนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 19 คนและ มัธยมศึกษาตอนปลาย 14 คนรวม 33 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ แบบมีโครงสร้างตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา มีค่าครรชนีความสอดคล้อง (IOC) เท่ากับ 0.67 - 1.00 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย (x ̅) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)และใช้ สถิติแมน-วิทนีย์ (Mann Whitney test) ในเปรียบเทียบการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของครูผู้สอน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนและมัธยมศึกษาตอนปลาย ผลการวิจัยพบว่า 1) การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของครูผู้สอนระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลายในภาพรวมทั้งด้านการสืบค้นรวบรวมข้อมูล การประมวลผล ข้อมูล การจัดเก็บข้อมูล การสร้างงานหรือโครงงานและการนําเสนอผลงานอยู่ในระดับมาก และ ด้านการสืบค้นรวบรวมข้อมูล ครูมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลายปฏิบัติมากที่สุดเป็น ลําดับที่ 1 เช่นเดียวกัน 2) ครูมัธยมศึกษาตอนปลายใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทั้ง 5 ด้านมากกว่าครู มัธยมศึกษาตอนต้น อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) ปัญหาและอุปสรรคจากการนํา เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนโสตศึกษาในภาคกลางพบว่า (1) ครู บางคนไม่มีความรู้และทักษะเพียงพอไม่สามารถเข้าถึงโปรแกรมต่างได้ เนื่องจากบางคนมีอายุมาก ไม่มีความถนัดและสนใจมาก่อนและบางคนไม่ได้ศึกษาจบมาด้านนี้ (2) อุปกรณ์ต่างๆ ไม่เอื้ออํานวยเช่น คอมพิวเตอร์มีน้อย เก่าและชํารุด สัญญาณอินเตอร์เน็ตไม่เพียงพอและ (3) ปัญหาระหว่างครู และนักเรียน โดยเฉพาะการสื่อสาร โดยใช้ภาษามือบางครั้งเข้าใจกันยาก ครูบางคนยังไม่สามารถ อธิบายคําภาษามือให้เข้าใจได้ | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | en_US |
dc.subject | โรงเรียนโสตศึกษา -- ไทย (ภาคกลาง) | en_US |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้ | en_US |
dc.subject | ครู -- กิจกรรมการเรียนการสอน | en_US |
dc.title | การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนโสตศึกษา ในภาคกลาง | en_US |
dc.title.alternative | The use of information technology in learning management for teachers of the deaf schools in the Central Region | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This survey research aimed to examine 1) the uses of information technology in learning management for secondary teachers of the Deaf Schools, 2) compare the use of information technology in learning management between lower secondary teachers and higher secondary teachers of the Deaf Schools, and 3) investigate the problems and limitation in using information technology in learning management for secondary teachers of the Deaf Schools. The sample group consisted of 33 Thai teachers; 19 of them teaching in lower secondary levels and the other 14 teaching in higher secondary levels at the Deaf Schools in the Central region. The research instruments included survey questionnaire and structured interview that were validated (ICO = 0.67-1.00). The analysis was done by using frequency, percentage, mean and standard deviation as well as Mann-Whitney Test for a comparison of information technology use. The results showed that 1) the uses of information technology in learning management for secondary teachers of the Deaf Schools for information searching, collecting, storing, developing work pieces and presenting were all in a high level. The teachers in both higher secondary levels and lower secondary levels used information technology for information searching and collecting the most; 2) the teachers in higher secondary levels appeared to use more information technology for all five purposes with statistical significance of .05, and 3) the problems and limitation in using information technology in learning management for secondary teachers of the Deaf Schools included (1) some teachers did not have enough computer knowledge and skills due to their age, lack of interest in technology, or lack of background knowledge in technology, (2) lack of resources; insufficient computer availability, and lack of Wi-Fi, (3) the communication problem and miscommunication between teachers and students particularly in using a sign language | en_US |
dc.description.degree-name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | หลักสูตรและการสอน | en_US |
Appears in Collections: | EDU-CI-M-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thapanee Nakphoom.pdf | 42.13 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.