Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/987
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมบูรณ์ สุขสาราญ, จุมพล หนิมพานิช-
dc.contributor.authorมาธินี คงสถิตย์-
dc.date.accessioned2022-04-08T02:29:36Z-
dc.date.available2022-04-08T02:29:36Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/987-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ ( ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2560en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ แสวงหาคำตอบว่ามหาวิทยาลัยราชภัฏยังคงเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามเจตนารมณ์ดั้งเดิม และเพื่อศึกษารูปแบบในการดำเนิน พันธกิจในการพัฒนาท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยราชภัฏที่ตั้งในความเป็นท้องถิ่นและมหาวิทยาลัย ราชภัฏที่ตั้งในพื้นที่ความเป็นเมือง โดยใช้การศึกษาจากเอกสารต่าง ๆ ทั้งที่เป็นเอกสารปฐมภูมิและทุติยภูมิ รวมไปถึงการสืบค้นข้อมูลในเชิงพื้นที่ (Area Based) ตามกรอบแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัย พบว่า มหาวิทยาลัยราชภัฏยังคงเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตาม เจตรมณ์เดิมอยู่ แม้ว่าบริบทของมหาวิทยาลัยราชภัฏจะเปลี่ยนแปลงไปก็ตาม ทั้งนี้รูปแบบของ การดำเนินพันธกิจ อันได้แก่ การจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัยราชภัฏในพื้นที่ชุมชนเมือง อันได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนันทา และมหาวิทยาลัยราชภัฏในพื้นที่ท้องถิ่น อันได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ จะมีความแตกต่างกัน ทั้งนี้ การพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นจำเป็นต้องตระหนักถึง 1) การกำหนดวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่งที่จะวางกรอบแนว ทางในการส่งเสริมและสนับสนุนให้มหาวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัย เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น 2) กระบวนการจัดการเรียนการสอนให้มีความสอดคล้องและสามารถตอบสนองความต้องการของพื้นที่ได้ 3) การวิจัย จะต้องคำถึงถึงการใช้ประโยชน์ในพื้นที่อย่างแท้จริงผ่านการใช้เทคโนโลยีและองค์ความรู้ทางวิชาการสมัยใหม่ 4) การบริการวิชาการ จะต้องถ่ายทอดองค์ความรู้ที่เป็นวิชาการไปสู่ความรู้ที่คนในพื้นที่เข้าใจและใช้ประโยชน์ได้ และ 5) การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม จะต้องช่วยสืบสานและยกระดับองค์ความรู้ในท้องถิ่นเป็นองค์ความรู้สากลen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการพัฒนาท้องถิ่น -- ไทยen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยราชภัฏ -- วิจัย -- ไทยen_US
dc.titleมหาวิทยาลัยราชภัฏกับการพัฒนาท้องถิ่น กรณีศึกษา เปรียบเทียบมหาวิทยาลัยราชภัฏในพื้นที่ท้องถิ่นชนบทและท้องถิ่นชุมชนเมืองen_US
dc.title.alternativeRajabhat Universities with local development : a comparative study Rajabhat Universities in rural and urban areasen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe objectives of this study were to explore whether Ratjabhat Universities were still universities for local development, as defined by their original purpose, and to investigate the practice of the universities’ mission concerning local development, focusing on Ratjabhat Universities in both rural and urban areas. The study was based on various documents providing primary and secondary data, including area- based researches concerning related thinking frameworks and theories. It was found from the study that even though the context of Ratjabhat Universities had changed, they were still universities for local development. Regarding the practice of universities’ mission such as teaching, researching, providing academic services and preserving art and culture, it was clear that there were some differences between Ratjabhat Universities in urban areas like Suan Sunandha Rajabhat University and Ratjabhat Universities in rural areas like Uttaradit Rajabhat University. To develop Ratjabhat Universities for local development is to focus on: 1) planning on the universities’ vison and strategy, which were very important in leading to the desired path to become universities for local development, 2) teaching methods which should correspond and support various needs in different areas, 3) conducting researches, which should be based on benefits and applications in the areas, and on new knowledge and technology, 4) providing academic services, from which knowledge should be passed on to locals leading to various practical advantages, and 5) preserving art and culture, aiming to inherit and promote local knowledge to become more international.en_US
dc.description.degree-nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาเอกen_US
dc.contributor.degree-disciplineรัฐประศาสนศาสตร์en_US
Appears in Collections:PAI-PA-D-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Marthinee Khonhsatid.pdf4.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.