Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/991
Title: การพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาและจิตวิทยาศาสตร์ รายวิชา ฟิสิกส์ เรื่องคลื่นเสียง ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
Other Titles: Developing of problem solving skill and scientific mind in sound of physics for matthayomsuksa 5 students by stem education
Authors: วิธวินท์ จันทร์ลือ
metadata.dc.contributor.advisor: อารยา มุ่งชานาญกิจ
Keywords: การพัฒนาทักษะ;การจัดการเรียนรู้ -- วิจัย;จิตวิทยาศาสตร์ -- นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
Issue Date: 2560
Publisher: มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหา และ 2) ศึกษาจิตวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ในรายวิชาฟิสิกส์ เรื่อง เสียง โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จานวน 40 คนได้มากจากการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา เรื่องคลื่นเสียง แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียนและครู แบบบันทึกผลหลังการสอน แบบสัมภาษณ์ผู้เรียน แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหา แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติ t- Test และ Normalized Gain ผลการวิจัยพบว่า 1) การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา ทาให้ผู้เรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหาหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยแบ่งออกเป็นทั้งหมด 4 ด้าน (1) ขั้นตรวจคาตอบ (2) ขั้นทาความเข้าใจปัญหา (3) ขั้นดาเนินการแก้ปัญหา (4) ขั้นวางแผนแก้ปัญหาตามลาดับ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา ทาให้ผู้เรียนมีคะแนนจิตวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
metadata.dc.description.other-abstract: This research was to 1) Study the problem-solving ability of Matthayomsuksa 5 students in sound wave of physics. 2) Study the scientific mind of Matthayomsuksa 5students in the physics courses in Pathumthani with the learning management based on STEM education. The research tools consisted of 1) lesson plans on the physics subject of sound wave 2) problem-solving ability tests 3) scientific mind evaluation 4) a researcher’s opinion recording form 5) a coresearcher’s opinion recording form. Statistics used in the research include: mean, S.D., dependent samples ttest and normalized gain. The result revealed that 1) The learning activities based on STEM education had caused the student to become the problem-solving ability of student improve (verification answer, problem orientation, solution implementation and planning respectively.) with statistic significant at .05. 2) the learning activities based on STEM education had caused the student to become the scientific mind of student improve with statistic significant at .05.
Description: วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การสอนวิทยาศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2560
metadata.dc.description.degree-name: ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
metadata.dc.description.degree-level: ปริญญาโท
metadata.dc.contributor.degree-discipline: การสอนวิทยาศาสตร์
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/991
metadata.dc.type: Thesis
Appears in Collections:EDU-TS-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wittawin Chunlue.pdf1.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.