Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/99
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุวรรณา เอี่ยมสุขวัฒน์ | - |
dc.contributor.author | ญาณิศา ซุ่นศรี | - |
dc.date.accessioned | 2021-12-02T04:43:12Z | - |
dc.date.available | 2021-12-02T04:43:12Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/99 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการพัฒนาทักษะความคล่องแคล่วว่องไวที่ใช้ โปรแกรมการฝึกตาราง 9 ช่องโดยเปรียบเทียบทักษะความคล่องแคล่วว่องไวก่อนและหลังการฝึก กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนที่เรียนวิชาทักษะกีฬา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ของโรงเรียนแห่งหนึ่ง ในจังหวัดปทุมธานีจํานวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบทดสอบอิลลินนอยส์ (Ilinois Agility Test) ก่อนทําการทดลองได้ทดสอบความคล่องแคล่วว่องไวของนักเรียน โดยวัดความคล่องแคล่วว่องไว จํานวน 3 ครั้ง หาค่าเฉลี่ยของเวลา จากนั้นจึงเริ่มฝึกความคล่องแคล่วว่องไวโดยใช้โปรแกรมการฝึก ตาราง 9 ช่อง เมื่อฝึกครบ 6 สัปดาห์ได้ทําการทดสอบความคล่องแคล่วว่องไวอีกครั้งวิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบความคล่องแคล่วว่องไวด้วยค่าสถิติ Paired t-Test ผลการวิจัยพบว่าหลังการฝึกด้วยโปรแกรมตาราง 9 ช่องค่าเฉลี่ยโดยรวมทั้งชั้นใช้เวลา 12.01 วินาที ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นจากค่าเฉลี่ยก่อนการฝึกโดยรวมทั้งชั้นใช้เวลา 14.43 วินาที มีความแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 แสดงให้เห็นว่าหลังการฝึกด้วย โปรแกรมตาราง 9 ช่อง ส่งผลให้ทักษะความคล่องแคล่วว่องไวเพิ่มขึ้นสามารถนําไปใช้พัฒนา ทักษะในการเล่นกีฬาบาสเกตบอลได้ | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | บาสเกตบอล -- การฝึก -- วิจัย | en_US |
dc.subject | บาสเกตบอล -- การทดสอบความสามารถ | en_US |
dc.subject | กิจกรรมการเรียนการสอน | en_US |
dc.subject | การพัฒนาทักษะ | en_US |
dc.title | การพัฒนาทักษะความคล่องแคล่วว่องไวในการเล่นกีฬาบาสเกตบอลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยการใช้โปรแกรมการฝึกตาราง 9 ช่อง | en_US |
dc.title.alternative | The development of agility skills in playing basketball of high school students using nine-square training program | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This purpose of this study was to study the effects of the development of agility skills using nine-square training program by comparing the skills of agility before and after training. The sample group is students who choose to study sports skills. Grade 4-6 grade of a school in Pathum Thani Province, 30 people. The research in struments were The Illinois Agility Test. Before the experiment, the students agility was tested. By measuring agility, 3 times, average time. Then began to practice agility using nine-square training program. When practicing for 6 weeks, once again, tested agility. The researcher analyzed the data by finding the mean and standard deviation. Comparison of agility before and after training with Paired t-Test statistic. The results of the research were after training with nine-square program, the average value of the whole class took 12.01 seconds, which changed in a better way from the average before the training, including the class. It took 14.43 seconds, which is the difference. With statistically significant differences at 0.01, indicating that after training with nine-square training program, increased agility skills. Can be used to improve basketball skills. | en_US |
dc.description.degree-name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | หลักสูตรและการสอน | en_US |
Appears in Collections: | EDU-CI-M-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Yanisa Sunsri.pdf | 49.39 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.