Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1008
Title: | อิทธิพลของรูปแบบการดำเนินชีวิตที่มีผลต่อทัศนคติและกระบวนการตัดสินใจซื้อสินค้าแฟชั่นผ่านเฟซบุ๊ก |
Other Titles: | Effect of lifestyle on attitude and buying decision process of fashion products via facebook |
Authors: | กมลชนก วนาธรัตน์ |
metadata.dc.contributor.advisor: | สุมามาลย์ ปานคำ |
Keywords: | สินค้า -- ความพอใจของผู้บริโภค -- วิจัย;การตัดสินใจซื้อ;สินค้าแฟชั่น -- การตัดสินใจซื้อ |
Issue Date: | 2559 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยรังสิต |
Abstract: | การวิจัยนีมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของรูปแบบการดำเนินชีวิตที่มีผลต่อทัศนคติและกระบวนการตัดสินใจซือสินค้าแฟชั่นผ่านเฟซบุ๊ก และเพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของรูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของรูปแบบการดำเนินชีวิตที่มีผลต่อทัศนคติและกระบวนการตัดสินใจซื้อสินค้าแฟชั่นผ่านเฟซบุ๊กที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้ใช้เฟซบุ๊กที่เคยซื้อสินค้าแฟชั่น ผ่านเฟซบุ๊ก จำนวน 366 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามออนไลน์แบบมาตรประมาณค่า 7 ระดับ (Rating Scale) ใช้เทคนิคการวิเคราะห์สมการเชิงโครงสร้าง (SEM) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป โมเดลวิจัย ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ได้แก่ (1) รูปแบบการดำเนินชีวิตของผู้บริโภค (2) ทัศนคติของผู้บริโภค (3) กระบวนการตัดสินใจซือของผู้บริโภค ผลการวิเคราะห์รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุพบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์เป็นอย่างดี โดยมีค่าสถิติ ไค-สแควร์ χ2 = 55.479, df = 30, CMIN/DF = 1.849, GFI = 0.973, AGFI = 0.942, SRMR = 0.037 และRMSEA = 0.048 มีค่าอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมของสัมประสิทธิ] เส้นทางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการวิจัยนีสามารถใช้ในการวิเคราะห์การตลาดออนไลน์บนโซเชียลมีเดียได้ และสามารถใช้ในการศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคบนเฟซบุ๊กในอนาคตได้ |
metadata.dc.description.other-abstract: | The objectives of this research were to study lifestyles that affect attitude and buying decision process of fashion products via Facebook; and to validate the concordance of the causal model with empirical data. The samples of a study were 366 Facebook users who have bought fashion products via Facebook. Online questionnaires (Rating Scale) were used to collect data. The questionnaires contains the query measure Gauges for measuring variables included three variables: (1) Lifestyle of consumers (2) Attitudes of consumers (3) Consumer’s buying decision process of fashion products via Facebook. The results found: the model is consistent with the empirical data, Chi-Square = 55.479, Degree of freedom = 30, CMIN/DF = 1.849, GFI = 0.973, AGFI= 0.942, SRMR = 0.037 and RMSEA = 0.048. The result of this study can be applied to e-commercial on social media and also can be applied to further study of consumer behavior on Facebook. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (สท.ม.(เทคโนโลยีสื่อสังคม)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2559 |
metadata.dc.description.degree-name: | สารสนเทศศาสตรมหาบัณฑิต |
metadata.dc.description.degree-level: | ปริญญาโท |
metadata.dc.contributor.degree-discipline: | เทคโนโลยีสื่อสังคม |
URI: | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1008 |
metadata.dc.type: | Thesis |
Appears in Collections: | ICT-SMT-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
KAMONCHANOK WANATARAT.pdf | 3.09 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.