Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/103
Title: การพัฒนาแบบจำลองทางความคิดด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานเรื่อง การแบ่งเซลล์ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
Other Titles: Development of matthayomsuksa 4 students’ mental model in the lesson on cell division through model-based learning
Authors: กชามาส จันทร์สกุล
metadata.dc.contributor.advisor: ทัศนีย์ ปัญจานนท์
Keywords: วิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา);แบบจำลอง;การแบ่งเซลล์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา);การจัดการเรียนรู้
Issue Date: 2562
Publisher: มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: การแบ่งเซลล์ในวิชาชีววิทยามีเนื้อหาระดับเซลล์ที่ยากต่อการเข้าใจ การสอนโดยวิธีการสร้างแบบจาลองอาจทาให้นักเรียนเข้าใจเนื้อหาได้ง่ายขึ้น ผู้วิจัยจึงทางานวิจัยฉบับนี้ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วัดความสามารถในการสร้างแบบจาลองทางความคิด 2) วัดผลการเรียนรู้ และ 3) วัดความพึงพอใจของนักเรียนเมื่อได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจาลองเป็นฐาน เรื่องการแบ่งเซลล์ โดยทาในกลุ่มตัวอย่างที่ผ่านการเลือกแบบเจาะจง เป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จานวน 31 คน ของโรงเรียนคณะราษฎร์บารุงปทุมธานี สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 4 จังหวัดปทุมธานี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัยไ ด้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยการใช้แบบจาลองเป็นฐานจานวน 4 แผน แบบ วัดความสามารถในการสร้างแบบจาลองทางความคิด แบบวัดผลการเรียนรู้ทางการเรียน แบบ วัดความพึงพอใจของนักเรียน และการสัมภาษณ์ความพึงพอใจของนักเรียนอย่างไม่เป็นทางการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ผลคะแนนที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ย (Normalized Gain <g>) และวิเคราะห์ความ พึงพอใจจากค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนร้อยละ 58.01 สามารถสร้างแบบจาลองทางความคิดที่ถูกต้องและสร้างคาอธิบายจากแบบจาลองได้ถูกต้อง 2) นักเรียนในระดับชั้นนี้มีผล การเรียนรู้ที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ย (Normalized Gain <g>) เท่ากับ 0.38 โดยนักเรียนส่วนใหญ่ (64.52%) มีผลการเรียนรู้เพิ่มขึ้นในระดับ “ปานกลาง” 3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยการใช้แบบจาลองเป็นฐานอยู่ในระดับ “พึงพอใจมาก” โดยมีค่าเฉลี่ยจากแบบประเมินความ พึงพอใจเท่ากับ 4.26 สอดคล้องกับผลจากการสัมภาษณ์อย่างไม่เป็นทางการ นักเรียนร้อยละ 51.61 มีความพึงพอใจ “มาก” ต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยการใช้แบบจาลองเป็นฐาน
metadata.dc.description.other-abstract: The content of cell division in biology is difficult for students to understand. Teaching by modeling methods can make students understand the content easily. Therefore, this research was conducted to assess students’ ability to create a mental model as well as their learning achievement and satisfaction towards model-based learning in the biology lesson on cell division. The samples were thirty-one Matthayomsuksa 4 students in Kanaratbamrung Parthumthani School under the supervision of The Secondary Education Service Area Office 4. Data collection was conducted in the first semester of the academic year 2019. The research instruments were four lesson plans, a conceptual model creation ability test, a learning achievement test, a questionnaire, and an unstructured interview. The data were analyzed using average incremental scores (Normalized Gain <g>) and standard statistics. The results showed that 58.01% of the students were able to create a mental model and explanations correctly. The average gain was 0.38. The learning achievement of the majority of the students (64.52%) was higher at a moderate level. Students’ satisfaction was at a “very satisfied” level with an average score of 4.26. According to the unstructured interview result, 51.61% of students were satisfied with model-based learning at a “satisfied” level
Description: วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การสอนวิทยาศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562
metadata.dc.description.degree-name: ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
metadata.dc.description.degree-level: ปริญญาโท
metadata.dc.contributor.degree-discipline: การสอนวิทยาศาสตร์
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/103
metadata.dc.type: Thesis
Appears in Collections:EDU-TS-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kachamas Chansakul.pdf2.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.