Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1039
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิดาภา ถิรศิริกุล-
dc.contributor.authorธนดล สุวรรณนิกขะ-
dc.date.accessioned2022-06-02T02:42:17Z-
dc.date.available2022-06-02T02:42:17Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1039-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (รป.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2560en_US
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาบริบท และสาระสำคัญของนโยบาย พระราชบัญญัติอาวุธปืนฯ 2. ศึกษาปัจจัยการนำนโยบายพระราชบัญญัติอาวุธปืนฯ ไปปฏิบัติ ในเขตกรุงเทพฯ และ 3. พัฒนาข้อเสนอะแนะในการส่งเสริม การนำนโยบาย พระราชบัญญัติอาวุธปืนฯ ไปปฏิบัติ ให้ประสบผลสำเร็จ กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนในเขตกรุงเทพฯ จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัยและใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานวิเคราะห์อิทธิพลของปัจจัยที่มีผลต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ ที่มีต่อผลของการนำนโยบายไปปฏิบัติ ด้วยการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ กับผลของการนำนโยบายไปปฏิบัติ พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติด้านนโยบาย ทรัพยากร สภาพแวดล้อมภายนอก และกลุ่มเป้าหมาย/ประชาชนผู้รับบริการ มีผลต่อประสิทธิผลการนำนโยบายไปปฏิบัติ ในเขตกรุงเทพฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยที่มีผลต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ ที่มีต่อประสิทธิผลการนำนโยบายไปปฏิบัติ ด้วยการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression) พบว่า ตัวแปรอิสระทั้งหมด (ปัจจัยที่มีผลต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ) สามารถอธิบายการแปรผันของตัวแปรตาม (ประสิทธิผลการนำนโยบายไปปฏิบัติ) ได้ร้อยละ 38.30 อนึ่งเมื่อพิจารณาอิทธิพลของตัวแปรอิสระแต่ละตัวที่มีต่อตัวแปรตาม ผลการศึกษาพบว่า ตัวแปรอิสระทุกตัวเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการนำนโยบายไปปฏิบัติอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ โดยที่ปัจจัยด้านกลุ่มเป้าหมาย/ประชาชนผู้รับบริการ มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการนำนโยบายไปปฏิบัติสูงมากที่สุด ที่ค่าสัมประสิทธิ์ถดถอย (b) = .527 ปัจจัยด้านทรัพยากร มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการนำนโยบายไปปฏิบัติ มีค่าสัมประสิทธิ์ถดถอย (b) = .242 ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมภายนอก มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการนำนโยบายไปปฏิบัติ มีค่าสัมประสิทธิ์ถดถอย (b) = .171 และปัจจัยด้านนโยบาย มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการนำนโยบายไปปฏิบัติ มีค่าสัมประสิทธิ์ถดถอย (b) = .071 โดยทั้ง 4 ตัวแปรมีอิทธิพลในเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .00en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectปืน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับen_US
dc.subjectอาวุธ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับen_US
dc.subjectอาวุธปืน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับen_US
dc.titleการนำนโยบาย พรบ อาวุธปืน ไปปฏิบัติen_US
dc.title.alternativeThe policy implementation of firearm acten_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe objectives of this research were to 1) investigate the context and the essence of the Firearms, Ammunition, Explosive Articles, and Fireworks, and Imitation of Firearms Act (B.E. 2490) of Thailand, 2) to study the policy implementation of the act in Bangkok Metropolitan, and 3) to provide recommendations leading to the promotion of the policy implementation and success in implementing the policy following the act. The samples were 400 people in Bangkok. The research instruments were questionnaires. The collected data were, then, statistically analyzed to discover percentages, means, and standard deviation (S.D.). The factors affecting the policy implementation were analyzed using the stepwise multiple regression method. The results showed that the factors including the policy, resources, external environment, and target groups/ service receivers affected the effectiveness of the policy implementation. Target groups or service receivers were found to affect the policy implementation in Bangkok Metropolitan at the significance level of .05. The factor analysis using the stepwise multiple regression method revealed that independent variables (factors affecting the policy implementation) could explain any of the variation caused by dependent variables (effectiveness of the policy implementation) at a percentage of 38.30. Considering the effects of the independent variables on the dependent ones, it was found out that all independent ones had statistically significant effects on the effectiveness of the policy implementation. Target groups or service receivers were found to mostly affect the effectiveness of the policy implementation with a coefficient (b) of.527, followed by resources, external environment, and the policy with coefficients (b) of .242, .171, and .071, respectively. All the four factors were found to have positive effects at a significance level of .00en_US
dc.description.degree-nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineรัฐประศาสนศาสตร์en_US
Appears in Collections:PAI-PA-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
THANADON SUWANNIKHA.pdf5.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.