Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1059
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธเนศ พงศ์ธีรัตน์-
dc.contributor.authorน้ำเพชร วัชรมาลีกูล-
dc.date.accessioned2022-06-16T03:46:54Z-
dc.date.available2022-06-16T03:46:54Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1059-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การสอนวิทยาศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2558en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยการนาวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนมาใช้ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เรื่อง ระบบย่อยอาหาร ได้แก่ 1) ศึกษาผลการเรียนรู้หลังเรียน เทียบกับเกณฑ์ที่กาหนด คือ ร้อยละ 70 และ 2) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้รูปแบบดังกล่าว โดยกลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ โรงเรียนมัธยมศึกษาแห่งหนึ่ง จังหวัดปทุมธานี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 จานวน 31 คน ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองปฏิบัติ ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ จานวน 6 แผน 2) เครื่องมือที่ใช้สะท้อนผลการปฏิบัติ ได้แก่ แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนและพฤติกรรมการสอนของครู และแบบบันทึกภาคสนาม 3) เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลวิจัย ได้แก่ แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ และแบบสอบถามความพึงพอใจ ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนจานวนร้อยละ 90.32 มีผลการเรียนรู้หลังเรียนสูงกว่าร้อยละ 70 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนด 2) ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือ โดยรวมอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.34, S.D.= 0.71) จากผลการวิจัย จะเห็นว่าการนาการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนมาใช้ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือนั้น ทาให้ผู้วิจัยทราบถึงปัญหาและสิ่งที่ควรแก้ไขของการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้ดียิ่งขึ้นen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectการจัดการเรียนรู้en_US
dc.subjectความพึงพอใจen_US
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาen_US
dc.subjectการศึกษาและการสอนen_US
dc.subjectการย่อยอาหารen_US
dc.subjectชีววิทยา -- การศึกษาและการสอน -- วิจัยen_US
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือและความพึงพอใจ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ระบบย่อยอาหาร ในวิชาชีววิทยาen_US
dc.title.alternativeOutcomes of cooperative learning and Matthayomsuksa 4 students' satisfaction on digestive system in biologyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe purposes of this research were to develop the learning management using Classroom Action Research (CAR) in conjunction with Cooperative Learning (CL) of Biology on the Digestive system, 1) study achievement compared with the criteria 70 percent set and 2) study the students’ satisfactions via using the CL. The sample group of this research was purposive sampling which included 31 students from Mathayomsuksa 4th (Gifted education program) at a school in Pathumthani province during the first semester of academic year of 2015. Research instruments were 1) 6 lesson plans of Biology by the CL on the Digestive system, 2) reflection instruments which consisted of studying and teaching observation form, and field note 3) efficiency evaluation instruments included the learning achievement measurement form and the students’ satisfactions via using the CL. This research found that 1) the students’ achievement were 90.32 percent more than 70 percent, which was higher than a certain threshold 2) the students’ satisfactions via using the CL overall was high level. (x̄= 4.34, S.D. = 0.71) Form result shown the CAR in conjunction with the CL that the researchers aware of the problems and what should revisions for develop better the learning management.en_US
dc.description.degree-nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการสอนวิทยาศาสตร์en_US
Appears in Collections:EDU-TS-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Namphet Wacharamaleekul.pdf13.89 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.