Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/105
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดารุณี เสริฐผล-
dc.contributor.authorชัญภัสท์ บุญเจือจันทร์-
dc.date.accessioned2021-12-02T07:04:56Z-
dc.date.available2021-12-02T07:04:56Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/105-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การสอนวิทยาศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบจาลองทางความคิดของนักเรียนเรื่อง พันธะโคเวเลนต์ ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานร่วมกับแผนผังกราฟิก โดย กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 69 คน ณ สถานศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดปทุมธานี ในภาคเรียนที่หนึ่งปีการศึกษา 2562 โดยได้จากการคัดเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานร่วมกับแผนผังกราฟิก เรื่องพันธะโคเวเลนต์ทั้งหมด 6 แผน และแบบวัดแบบจำลองทางความคิด เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ โดยทาการวัดแบบจำลองทางความคิดของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายทั้งก่อนและหลังการจัดเรียนรู้ และวิเคราะห์ผลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เชิงอุปนัยร่วมกับการตรวจสอบสามเส้าด้านผู้วิจัย แล้วจึงจัดจำแนกแบบจาลองทางความคิดออกเป็น 5 กลุ่ม จากนั้นจึงรายงานผลโดยใช้สถิติร้อยละและ คำบรรยาย ผลการวิจัยพบว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานร่วมกับแผนผังกราฟิก มีการพัฒนาแบบจำลองทางความคิดที่สมบูรณ์มากขึ้นกว่าเดิมร้อยละ 15.49 และมีนักเรียนที่สามารถแสดงแบบจำลองทางความคิดได้ เพิ่มขึ้นร้อยละ 53.53 จากการวิจัยนี้จึงสรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานร่วมกับแผนผังกราฟิกสามารถช่วยให้นักเรียนมีแบบจำลองทางความคิดเรื่อง พันธะโคเวเลนต์ ได้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้นen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en_US
dc.subjectพันธะเคมี -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en_US
dc.subjectการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้en_US
dc.subjectแบบจำลองen_US
dc.titleการพัฒนาแบบจำลองทางความคิดของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องพันธะโคเวเลนต์ ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานร่วมกับแผนผังกราฟิกen_US
dc.title.alternativeThe development of mattayomsuksa 4th students’ mental models in the lesson on covalent bonds using model-based learning with graphic organizationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThis study aimed to develop Mattayomsuksa 4th students’ mental models in the lesson on covalent bonds utilizing model-based learning with graphic organization. The samples were 69 Mattayomsuksa 4th students, in the academic year 2019, at a high school located in Pathumthani Province, the number of which was obtained from purposively sampling. The research instruments included 6 lesson plans on covalent bonds, a mental model pretest, and a mental model posttest. The qualitative data were analyzed using inductive content analysis and triangulation. The obtained data were classified into 5 groups. The results were reported in percentages and descriptions. The results revealed that, after the lesson, more than 15.49% of overall students developed more complete mental models. 53.53% of the students could express their mental models. The results implied that model-based learning with graphic organization could result in the students’ more complete mental models in the lesson on covalent bonds.en_US
dc.description.degree-nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการสอนวิทยาศาสตร์en_US
Appears in Collections:EDU-TS-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chanyapath Boonjuaejan.pdf2.91 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.