Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1063
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พฤฒิพงศ์ อภิวัฒนกุล | - |
dc.contributor.author | พิทักษ์พงศ์ เอี่ยมเจริญ | - |
dc.date.accessioned | 2022-06-16T07:28:59Z | - |
dc.date.available | 2022-06-16T07:28:59Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1063 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการโลจิสติกส์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2560 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบรูปแบบการจัดภารกิจการบินแบบใหม่ให้กับเครื่องบินลำเลียงของกองทัพอากาศ และศึกษาผลลัพธ์การใช้รูปแบบการจัดภารกิจการบินแบบใหม่ให้กับเครื่องบินลำเลียงของกองทัพอากาศ ได้แก่ ค่าใช้จ่ายรวมในการบิน และเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายรวมในการบินก่อน และหลังใช้รูปแบบการจัดภารกิจการบินแบบใหม่ กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเฉพาะเจาะจงที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ โดยเป็นภารกิจที่สามารถเปลี่ยนแบบเครื่องบินได้ ใช้เครื่องบินแบบที่ 1, 2, 3, 4, 5 และ 6 และเริ่มต้นจาก ฐานทัพอากาศ ดอนเมือง กองบิน 6 เท่านั้น มีจานวนทั้งสิ้น 1,025 ภารกิจ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบบันทึกการจัดบิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 นำข้อมูลที่ได้มาจัดบินด้วยรูปแบบการจัดภารกิจการบินแบบใหม่ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ 2 ตัวแปร เปรียบเทียบค่าใช้จ่ายรวมก่อน และหลังการใช้รูปแบบการจัดภารกิจการบินแบบใหม่ด้วยสถิติ Paired Sample t-test และ Wilcoxon Sign Rank test ผลการวิจัยพบว่าลักษณะของรูปแบบการจัดภารกิจการบินแบบใหม่ ซึ่งคานึงถึง การประหยัดค่าใช้จ่ายเป็นเกณฑ์หลัก มีการเรียงลำดับภารกิจที่มีระยะทางบินจากมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด และเลือกใช้เครื่องบินที่มีค่าความสิ้นเปลืองโดยประมาณต่อ 1 ชั่วโมง ต่ำที่สุดเป็นลำดับแรก สามารถลดค่าใช้จ่ายรวมได้ถึงร้อยละ 20.4 และเมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยค่าใช้จ่ายรวมของรูปแบบการจัดภารกิจการบินแบบใหม่กับรูปแบบการจัดภารกิจการบินแบบเดิมพบว่าลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p < .05 | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | ธุรกิจการบิน -- วิจัย. | en_US |
dc.subject | เครื่องบินลำเลียง | en_US |
dc.subject | เครื่องบินลำเลียง -- วิจัย | en_US |
dc.title | รูปแบบการจัดภารกิจการบินแบบใหม่ของเครื่องบินลำเลียงกองทัพอากาศ | en_US |
dc.title.alternative | New flight mission management model of The Royal Thai Air Force Transport Aircraft | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This research aims to develop a new flight management model for the airlift missions of the Royal Thai Air Force (RTAF). The results obtained from this method are studied including the reduction of overall operating costs. The total of 1025 missions collected from the RTAF flight schedule data in FY2015 is chosen as a specimen. And for the purpose of this study, these selected missions can be assigned for any of six RTAF transport aircraft types, and always depart from Donmuang Airport. The specimen is scheduled with the new method and subsequently analyzed by the bivariate statistics. Also the Paired Sample t-test and Wilconxon Sign Rank test are applied for evaluating the operating cost improvement. As far as the results are concerned, the new flight-scheduling method primarily focuses on reducing the overall operating costs. This is performed by arranging the missions by the route distance in descending order, and selecting the aircraft with the lowest operating cost per hour if it is available in the fleets. The results show that the new method can provide a substantial cost reduction of 20.4 percent with a statistical significance of p-value less than 0.05. | en_US |
dc.description.degree-name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | การจัดการโลจิสติกส์ | en_US |
Appears in Collections: | Grad-ML-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
PITAKPONG IAMCHAREON.pdf | 4.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.