Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1093
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปรานอม ขาวเมฆ | - |
dc.contributor.author | สิทธิศักดิ์ พสุมาตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-06-17T06:28:07Z | - |
dc.date.available | 2022-06-17T06:28:07Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1093 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การสอนวิทยาศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2558 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) แก้ไขแนวคิดคลาดเคลื่อนทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ โดยใช้การเรียนรู้แบบจำลองเป็นฐานร่วมกับกิจกรรมการเรียนรู้แบบทำนาย-สังเกต-อธิบาย (2) วิเคราะห์ผลการใช้เทคนิคและวิธีการจัดการเรียนการสอน โดยใช้การเรียนรู้แบบจำลองเป็นฐานร่วมกับกิจกรรมการเรียนรู้แบบทำนาย- สังเกต-อธิบาย ที่ช่วยแก้ไขแนวคิดคลาดเคลื่อนทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 36 คน โดยใช้เครื่องมือในการวิจัยคือ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ ตามรูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยใช้การเรียนรู้แบบจำลองเป็นฐานร่วมกับกิจกรรมการเรียนรู้แบบทำนาย-สังเกต-อธิบาย แบบวัดแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ แบบวิเคราะห์แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ แบบฝึกหัด ใบกิจกรรม และแบบสะท้อนผลการปฏิบัติ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการจัดกลุ่มและใช้ค่าความถี่ร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า ก่อนการเรียนรู้นักเรียนร้อยละ 53.97 มีแนวคิดทางวิทยาศาสตร์คลาดเคลื่อน โดยเฉพาะเรื่อง การเกิดพันธะโคเวเลนต์ ชนิดของพันธะโคเวเลนต์และโมเลกุลที่ไม่เป็นไปตามกฎออกเตต หลังการเรียนรู้พบว่า จำนวนนักเรียนที่มีแนวคิดวิทยาศาสตร์คลาดเคลื่อนมีจำนวนลดลงร้อยละ 36.91 แสดงให้เห็นว่า การจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบงานวิจัยนี้สามารถแก้ไขแนวคิดคลาดเคลื่อนทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนเรื่อง พันธะโคเวเลนต์ ได้ สำหรับเทคนิคและวิธีการจัดการเรียนการสอนช่วยแก้ไขแนวคิดคลาดเคลื่อนทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ได้แก่ การลงมือปฏิบัติทดลอง การสังเกตจากสื่อ เช่น วีดิทัศน์ โมเดล การฝึกแก้โจทย์จากสถานการณ์แปลกๆ และการใช้คำถามที่กระตุ้นนักเรียน ตามลำดับ | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้ | en_US |
dc.subject | กิจกรรมการเรียนรู้ -- นัักศึกษาชั้นมัธยมศึกษา | en_US |
dc.subject | แบบจำลอง | en_US |
dc.subject | วิทยาศาสตร์ | en_US |
dc.title | การใช้การเรียนรู้แบบจำลองเป็นฐานร่วมกับกิจกรรมการเรียนรู้แบบทำนาย-สังเกต-อธิบาย เพื่อแก้ไขแนวคิดคลาดเคลื่อนทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ | en_US |
dc.title.alternative | Using model based learning (MBL) with Predict-Observe-Explain (POE) to correct scientific misconception of Matthayomsuksa 4th on Covalent Bond | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This research aimed to correct scientific misconception on the topic of covalent bond for 36 students in Matthayomsuksa 4th. The instruments using in this research were the lesson plans based on Model Based Learning (MBL) with Predict-Observe-Explain (POE), chemical bonding concept test, chemical bonding concept analytical journal, worksheets, exercises and reflective journal. The data were classified and analyzed using the frequency and percentages. Before using the model, the results showed that the students had up to 53.97% misconception in the formation of covalent bond, types of the bond and octet rule. After using MBL with POE, it was found that the number of students who have the specific misconception decreased to 36.91%. This indicated the use of MBL with POE can improve the misconception on the selected topic. Moreover, the teaching techniques that experimental practices, observation from visual, solving practices and activated asking questions can improve the misconception of students. | en_US |
dc.description.degree-name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | การสอนวิทยาศาสตร์ | en_US |
Appears in Collections: | EDU-TS-M-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sitthisak Pasumart.pdf | 4.31 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.