Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1103
Title: | โครงการศึกษาศิลปะโลว์บราวเพื่อออกแบบแอนิเมชันเรื่องเดอะเมโลดี้เกิลส์ |
Other Titles: | The study lowbrow art for animation design title the melody’s girl |
Authors: | ชาติเชื้อ เชื้อโชติ |
metadata.dc.contributor.advisor: | กฤษดา เกิดดี |
Keywords: | ภาพยนตร์แอนิเมชั่น -- การออกแบบ -- วิจัย;ศิลปะโลว์บราว;การสร้างภาพเคลื่อนไหว (คอมพิวเตอร์) -- วิจัย |
Issue Date: | 2559 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยรังสิต |
Abstract: | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและออกแบบสื่อแอนิเมชัน จากศึกษาศิลปะโลว์บราว เพื่อผู้ชมอายุตั้งแต่ 10-30 ปี กระบวนการ และทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย การศึกษาจากงานศิลปะของศิลปินที่ทำงานในรูปแบบ ศิลปะโลว์บราว เช่น Mark Ryden ,Yosuki Ueno , Nicolletta Ceccoli และ Todd Schorr นำมาวิเคราะห์หลักการ รูปแบบ และแนวความคิด เพื่อออกแบบใหม่ภายใต้โครงสร้างการออกแบบแอนิเมชัน การศึกษาวิจัยดังกล่าวจึงได้ ออกแบบเนื้อหาและเหตุการณ์ในงานแอนิเมชันในรูปแบบเหนือจริง เพื่อให้เกิดความแปลกใหม่ และน่าติดตามมีการออกแบบตัวละครและฉากโดยนำข้อมูลที่ได้จากการศึกษาศิลปะโลว์บราวนำมารวบรวมและออกแบบใหม่เพื่อสร้างความเป็นเอกลักษณ์ และน่าสนใจ งานวิจัยชิ้นนี้มีเครื่องมือที่ใช้ในการออกแบบและผลิตโดยใช้โปรแกรม Autodesk Maya, Adobe Photoshop, Adobe After Effects ผลการวิจัยพบว่าการทำแอนิเมชันโดยการนำศิลปะในลัทธิโลว์บราวมาใช้นั้นจำเป็นที่จะต้องศึกษาแนวคิดของศิลปินหลายๆ คน แล้วนำจุดเด่นต่างๆ ของศิลปินนั้นมาประยุกต์ใช้ เพื่อให้เหมาะสมกับงานแอนิเมชัน และต้องให้ความสำคัญทั้งในเรื่องของเนื้อเรื่อง ความสวยงาม และองค์ประกอบต่างๆ ทางทัศนศิลป์ โดยเป้าหมายหลักที่นำเสนอคือการนำแนวคิดของศิลปะโลว์บราวมาประยุกต์ใช้ในการผลิตแอนิเมชัน |
metadata.dc.description.other-abstract: | The purpose of this research is to create an animation film for studying Lowbrow art. Processes and theories for the study consisted of research from artists who work in Lowbrow art style such as Mark Ryden, Yosuki Ueno, Nicolletta Ceccoli and Todd Schorr. This research analysed the formality, style and concepts to create the structure of the animation. The research designed the content and situation for the animation in fantasy style to create novelty and excitement. The characters design and scenes used information from Lowbrow art and was created for introducing the identity and make it noticeable. This research used software for design and production which were Autodesk Maya, Adobe Photoshop and Adobe After Effects. Results show that the basis for creating animation of Lowbrow art requires the study of concept from many artists which was applied to the animation. Also, the story, composition and visual arts were focused. The aim is to show the concept of Lowbrow art that was applied to design of the animation. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ศล. ม. (คอมพิวเตอร์อาร์ต)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2559 |
metadata.dc.description.degree-name: | ศิลปมหาบัณฑิต |
metadata.dc.description.degree-level: | ปริญญาโท |
metadata.dc.contributor.degree-discipline: | คอมพิวเตอร์อาร์ต |
URI: | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1103 |
metadata.dc.type: | Thesis |
Appears in Collections: | DIA- ComArt-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Chatchua Chuachot.pdf | 5.87 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.