Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1115
Title: รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย ศึกษาการออกแบบและสร้างเครื่องดึงคออัตโนมัติด้วยลมสำหรับใช้ที่บ้าน
Other Titles: A study on the design and construction of automatic air neck traction for home use
Authors: ธนกร อยู่โต
metadata.dc.contributor.advisor: สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต
Keywords: อุปกรณ์ชีวการแพทย์ -- การออกแบบ -- วิจัย;เครื่องดึงคออัตโนมัติ;อุปกรณ์การแพทย์
Issue Date: 2556
Publisher: มหาวิทยาลัยรังสิต
Abstract: งานวิจัยนี้มุ่งศึกษาการออกแบบและสร้างเครื่องดึงคออัตโนมัติด้วยลมสําหรับใช้ที่บ้านใน การบําบัดรักษาอาการปวดคอเรื้อรังของผู้ป่วยโดยไม่ต้องไปรักษาที่คลินิกหรือโรงพยาบาล การ ออกแบบและสร้างเครื่องนี้ประกอบด้วย 3 ส่วนหลักคือ 1) ส่วนของท่อลมยางสวมคอผู้ป่วย ทํา หน้าที่ยึดคอผู้ป่วย 2)ส่วนของฮาร์ดแวร์ประกอบไปด้วย ไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino Mega 2560R3 จอแสดงผล LCD 4x20) วงจรอิเล็กทรอนิกส์และ 3) ส่วนของซอฟต์แวร์ทําหน้าที่ควบคุม การทํางานของเครื่องเขียนด้วยโปรแกรมภาษาซี ผลการทดสอบฟังก์ชั่นการทํางานของเครื่องมี ดังนี้ 1) ผลการทดสอบแรงดึงคอผู้ป่วยในโหมดดึงแบบต่อเนื่องและโหมดดึงเป็นช่วงเวลาของ เครื่อง เทียบกับเครื่องชั่งน้ําหนักรุ่น DR400 พบว่ามีค่าผิดพลาดไม่เกิน 10 เปอร์เซ็นต์ 2) ผลการ ทดสอบระบบตั้งเวลาการทํางานของเครื่องเทียบกับนาฬิกาจับเวลา Casio รุ่น IIS-5 พบว่ามีความ ถูกต้องเฉลี่ย 100 เปอร์เซ็นต์และ3)ผลการทดสอบวัดกระแสไฟฟ้ารั่วไหลที่ตัวเครื่องด้วยเครื่อง Fluke ESA612 Electrical Safety Analyzer พบว่าอยู่ในช่วงค่ามาตรฐานของ IEC60601-1(<100uA) และ 3)ผลการทดสอบทางด้านคลินิกสามารถยอมรับได้จากคณาจารย์ คณะกายภาพบําบัด มหาวิทยาลัยรังสิต
metadata.dc.description.other-abstract: This research was intended to study the design and construction of automatic air neck traction for home use, in the treatment of patients with chronic neck pain without going to a clinic or hospital. The designed and constructed of the machine composed of 3 main parts: 1) the air chamber part acts a patient neck stretch, 2)the hardware part comprises of microcontroller Arduino Mega 2560 R3, display screen (LCD 4x20) and electronic circuits and 3) the software for controlling the operation of the machine with C-language program. The results of function testing of the machine as the follow: 1) the results of stretch neck of patients in the continuous mode and intermittent mode compared with a weight scale model DR400 found that the error does not exceed 10 percent, 2) the results of timer function compared with a stop watch, Casio, Model HS-5 showed that the accuracy was 100%, 3) the result of leakage current of machine was tested with the Fluke ESA612 Electrical Safety Analyzer, it has a leakage current in the standard range of IEC60601-1(<100uA) and 4) the result of clinical testing was acceptable by the lecturer from faculty of physical therapy, Rangsit University.
URI: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1115
metadata.dc.type: Other
Appears in Collections:BioEng-Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thanakorn Yootho.pdf79.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.