Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1119
Title: | รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย การพัฒนาสีย้อม Wright-Giemsa เพื่อใช้ในการย้อมเสมียร์เลือด |
Authors: | สุดาภรณ์ เก่งการ |
metadata.dc.contributor.advisor: | สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต |
Keywords: | เลือด -- การตรวจ;เลือด, การทดสอบ -- วัสดุและอุปกรณ์ -- วิจัย |
Issue Date: | 2553 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยรังสิต |
Abstract: | ศึกษาและพัฒนาสีย้อม Wight Giemsa โดยเปรียบเทียบกับสีย้อม Wright-Giemsa สูตร ดั้งเดิมจากสเมียร์เลือกทั้งหมด 200 แผ่น เป็นสเมียร์เลือดจากคนปกติ และผิดปกติชนิดต่างๆ ทั้ง เม็ดเลือดขาวและเม็ดเลือดแดง พบว่าการติดสีของเซลล์เม็ดเลือดขาวจากการนับแยกชนิดเซลล์ เม็ดเลือดขาวของสีทั้งสองชนิดไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p > 0.05) ส่วน การติดสีของเม็ดเลือดแดงที่ย้อมด้วยสี Wright-Giennsa ที่พัฒนาขึ้น ไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง รูปร่างและขนาดของเม็ดเลือดแดง ยกเว้น hypochromia จะตรวจพบได้มากกว่าการย้อมด้วย สี Wright-Gignsa สูตรดั้งเดิม (specificity 67%) อาจเป็นเพราะสี Wright-Giernsa ที่พัฒนาแล้วทําให้ เม็ดเลือดแดงติดสืออกน้ําเงิน และด้วยเหตุผลนี้ทําให้แยก polychromasia ออกจากเม็ดเลือดแดงปกติ ยากกว่าด้วย การติดสีมาลาเรีย และ inclusion ต่างๆ ภายในเซลล์ เช่น Howell jolly body และ basophilic stippling จะเห็นได้ชัดเจนกว่าเมื่อย้อมด้วยสี Wright-Gicnsa ที่พัฒนาขึ้น ส่วน แกรนูลของเกร็ดเลือดติดสีชัดเจนดีไม่มีผลต่อการรายงานคุณภาพและปริมาณของเกร็ดเลือด นอกจากนี้ยังพบว่าสีย้อม Wright-Gemsa ที่พัฒนาขึ้นมีความคงทน และเก็บได้นาน ดั้งนั้น สี Wright-Giernsa ที่พัฒนาแล้วจึงเหมาะสมในการนําไปใช้ย้อมสเมียร์เลือดในงานตรวจประจําวัน ทางห้องปฏิบัติการที่มีงานมาก และเร่งด่วน รวมทั้งในการทําสเมียร์เลือดเพื่อใช้ในการเรียน การสอน เพราะย้อมง่าย ใช้เวลาน้อย ไม่มีตะกอน และที่สําคัญย้อมมาลาเรียจาก thin film ได้ชัดเจน |
metadata.dc.description.other-abstract: | Wright-Giemsa stain was modified for rapid staining and compared with conventional Wright-Giemsa stain. Two hundreds blood smears slides were prepared from subjects and patients with abnormal in white blood cell and red blood cell. Indicate that there was no significant difference between these two stains in the percentage of all leukocyte (p>0.05). Red blood cell morphology especially in size and shape were not altered when stained with modified Wright Giemsa stain. Hypochromia red cells were found higher than conventional Wright-Giemsa stain and showed blue colored than normal which was difficult to differentiate polychromasia ont of normal red blood cell. The advantages modified Wright-Giemsa stain were found higher amount of malaria and inclusion (Howell jolly body, basophilic stippling) than conventional Wright Giemsa stain. There was no difference in number of platelets and its granularity. Our study revealed that modified Wright-Giemsa stain was high stability and can be used in routine and emergency laboratory especially for class slide. The another advantage of this modified WrightGiemsa stain was superior for thin film malaria parasites, no time consuming and easily to perform |
URI: | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1119 |
metadata.dc.type: | Other |
Appears in Collections: | MeT-Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sudaporn Kengkarn.pdf | 50.79 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.