Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/111
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดารุณี เสริฐผล-
dc.contributor.authorนิลิน ปัญญาปา-
dc.date.accessioned2021-12-02T07:39:39Z-
dc.date.available2021-12-02T07:39:39Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/111-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การสอนวิทยาศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการรู้เท่าทันสื่อของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หลังการจัดการเรียนรู้ตามแนววิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม เรื่อง สารชีวโมเลกุล 2) ศึกษาแนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการเรียนรู้ตามแนววิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม ที่สามารถส่งเสริมการรู้เท่าทันสื่อ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนที่ศึกษาอยู่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนรัฐบาลแห่งหนึ่ง ในจังหวัดปทุมธานี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 จานวน 42 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ออกแบบตามแนววิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม จำนวน 4 แผน ใช้เวลา 8 คาบ แบบวัดการรู้เท่าทันสื่อ 2 ฉบับ ได้แก่ แบบวัดการรู้เท่าทันสื่อก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ ใบกิจกรรม บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ และตั๋วออก สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (X̅) ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และความก้าวหน้าทางการเรียน (Normalization Gain, <g>) ผลการวิจัยพบว่า การรู้เท่าทันสื่อของนักเรียนเพิ่มขึ้นหลังจากได้รับการจัดการเรียนรู้ และเพิ่มขึ้นในทุก ๆ องค์ประกอบ เมื่อคำนวณความก้าวหน้าทางการเรียนการรู้เท่าทันสื่อของนักเรียนเป็นรายบุคคล จะได้ว่า นักเรียน 34 คน (ร้อยละ 80.95) อยู่ในเกณฑ์ปานกลาง (<g> เท่ากับ 0.30 – 0.70) ส่วนนักเรียนอีก 8 คน (ร้อยละ 19.05) อยู่ในเกณฑ์ต่า (<g> น้อยกว่า 0.30) สำหรับแนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการเรียนรู้ตามแนววิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม ที่สามารถส่งเสริมการรู้เท่าทันสื่อ ได้แก่ การใช้บทความหรือเหตุการณ์ที่มีความเกี่ยวข้องกับนักเรียน การที่ผู้สอนคอยกระตุ้นและให้คำปรึกษาในการตั้งคำถาม วิเคราะห์ และตีความเนื้อหาสื่อ มีการอภิปรายเป็นกลุ่ม และการสร้างสื่อด้วยตนเองen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en_US
dc.subjectการรู้เท่าทันสื่อen_US
dc.subjectการจัดการเรียนรู้en_US
dc.subjectชีวโมเลกุลen_US
dc.titleการศึกษาการรู้เท่าทันสื่อของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยการจัดการเรียนรู้ตามแนววิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม เรื่อง สารชีวโมเลกุลen_US
dc.title.alternativeThe study of media literacy in 12th grade students using science-technology-society approach on the topic of biomoleculesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe objectives of this action research were to investigate grade 12 students’ media literacy after learning a chemistry lesson on biomolecules using the science-technology-society approach and to study the learning management using the science-technology-society approach to promote students’ media literacy. The samples of this action research were 42 students studying grade 12 at a public school in Pathumthani, Thailand. The research instruments were four lesson plans designed following the science-technology-society approach used for 8 class hours, a pretest and a posttest of media literacy, worksheets on biomolecules, a field note, and exit tickets. The data were analyzed using percentage, mean (X̅), standard deviation (S.D.) and normalized gain. The findings showed that the students’ media literacy increased after learning through the science-technology-society approach. The normalized gains <g> of scores of 34 students (80.95%) were classified as medium gain, ranging between 0.30 and 0.70. Those of 8 students (19.05%) were classified as low gain (<g> less than 0.30). The best practice for the leaning management using the science-technology-society approach was to promote students’ media literacy by using an article or media relating to students’ living, motivating them to question, analyze, and interpret the meaning of the media content, and encouraging them to group create a media content by themselves.en_US
dc.description.degree-nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineการสอนวิทยาศาสตร์en_US
Appears in Collections:EDU-TS-M-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nilin Panyapa.pdf2.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.