Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/112
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธเนศ พงศ์ธีรัตน์ | - |
dc.contributor.author | ปัณฑิตา กรรณิการ์ | - |
dc.date.accessioned | 2021-12-02T07:43:03Z | - |
dc.date.available | 2021-12-02T07:43:03Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/112 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การสอนวิทยาศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2562 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาการรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและสิ่งแวดล้อม 2) เพื่อเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียน และ 3) เพื่อศึกษาเจตคติของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ โดยกลุ่มเป้าหมายของการศึกษานี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2562 จานวน 24 คน ณ โรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดปทุมธานี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและสิ่งแวดล้อม แบบวัดการรู้วิทยาศาสตร์ ซึ่งค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.67 – 1.00 แบบวัดผลการเรียนรู้ทางการเรียน ซึ่งค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.67 – 1.00 ค่าความยากอยู่ระหว่าง 0.30 - 0.80 ค่าอานาจจาแนกอยู่ระหว่าง 0.2. – 0.53 และค่าความเชื่อมั่น 0.77 และแบบวัดเจตคติต่อการจัดการเรียนรู้ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยระดับการรู้วิทยาศาสตร์หลังเรียนเพิ่มขึ้น 2 ระดับ และผลคะแนนเฉลี่ยสมรรถนะการรู้วิทยาศาสตร์ทั้ง 3 สมรรถนะหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน 2) ผลการเรียนรู้ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยผลการเรียนรู้ที่เพิ่มขึ้นรายชั้นเรียนมีค่า Normalized gain 0.65 ซึ่งระดับเพิ่มขึ้นปานกลาง และผลการเรียนรู้ที่เพิ่มขึ้นรายบุคคลอยู่ในระดับเพิ่มขึ้นปานกลางร้อยละ 62.5 และระดับเพิ่มขึ้นสูงร้อยละ 37.5 และ 3) ผลเจตคติต่อการจัดการเรียนรู้อยู่ในระดับดีมาก โดยผลเจตคติที่มีคะแนนสูงสุดคือด้านผู้เรียนเกี่ยวกับนักเรียนได้รับโอกาสในการแสดงความคิดเห็นของตนเอง และคะแนนต่าคือด้านกิจกรรมการเรียนรู้ เกี่ยวกับระยะเวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้น้อย ดังนั้นการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและสิ่งแวดล้อม ทาให้นักเรียนพัฒนาการรู้วิทยาศาสตร์ ผลการเรียนรู้ต่อการเรียนดีขึ้น และมีเจตคติที่ดีต่อการจัดการเรียนรู้ | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | วิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | en_US |
dc.subject | ชีววิทยา -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | en_US |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้ | en_US |
dc.title | การพัฒนาการรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 5 รายวิชาชีววิทยา เรื่อง การสืบพันธุ์ของพืชดอก โดยใช้การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและสิ่งแวดล้อม | en_US |
dc.title.alternative | The development of scientific literacy of grade 11 students in the biology lesson on “angiosperm reproduction” by using science, technology, society, and environment (STSE) approach | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The aims of this research were 1) to the development of scientific literacy by using science, technology, society, and environment (STSE) approach, 2) to compare learning outcome of students between before and after treated with the approach, and 3) to study their attitudes towards STSE learning. The samples were 24 grade 11 students at a secondary school in Pathumthani Province in the academic year 2019. The research instruments were lesson plans, a pretest and a posttest of science literacy with IOC values between 0.67 - 1.00, a learning outcome test with an IOC value between 0.67 - 1.00, a difficulty between 0.30 – 0.80, a discrimination between 0.20 – 0.8 and a reliability of 0.77, and an attitude test. The results showed that students’ posttest scores were higher after learning STSE. The level of science literacy increased by two levels, and the posttest average score of three science competencies was higher than the pretest average score. Students’ learning outcome posttest scores were higher than their pretest scores. The class learning outcomes score increased with a normalized gain of 0.65, classified as medium gain. The scores of 62.5% and 37.5% of the students were moderate and high, respectively. The result of students’ attitudes was at a very good level. ‘Opportunity to express their opinions’ displayed the highest mean, and ‘Learning activities’ displayed the lowest mean. Therefore, science, technology, society, and environment (STSE) approach could promote student’s scientific literacy, learning outcomes and attitude in biology | en_US |
dc.description.degree-name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | การสอนวิทยาศาสตร์ | en_US |
Appears in Collections: | EDU-TS-M-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pantita Kannika.pdf | 1.92 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.