Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1179
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จุมพล หนิมพานิช, สมบูรณ์ สุขสำราญ | - |
dc.contributor.author | เสริมศักดิ์ กิตติปาลวรรก์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-07-12T05:37:07Z | - |
dc.date.available | 2022-07-12T05:37:07Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1179 | - |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2557 | en_US |
dc.description.abstract | ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีจุดประสงค์เพื่อศึกษา (1) เพื่อศึกษากระบวนการผลิตสร้างวาทกรรมนโยบายประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา (2) เพื่อศึกษาการใช้วาทกรรมโดยใช้ อำนาจและความรู้ ความเชี่ยวชาญเฉพาะในฐานะเป็นเครื่องมือในการบริหารนโยบายประกันคุณภาพการศึกษา (3) เพื่อศึกษาอิทธิพลของวาทกรรมนโยบายประกันคุณภาพการศึกษาที่ส่งผลต่อสถาบันอุดมศึกษา โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพเก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่มและการสังเกต จากการศึกษาพบว่า 1. นโยบายประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่ดำเนินการโดยสำนักงานรับรองมาตรฐานะและการประกันคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ถูกสร้างขึ้นด้วยกระบวนการสร้างปัญหาเชิงวาทกรรม 2. ในการบริหารนโยบายดังกล่าว ดำเนินการ ผ่านการใช้อำนาจ ความรู้และความเชี่ยวชาญเฉาะทางของผู้ที่อยู่ในแวดวงของการศึกษา ซึ่งผลของการศึกษาแสดงให้เห็นว่าอำนาจ ความรู้และความเชี่ยวชาญเฉพาะทางดังกล่าวมีอิทธิอย่างยิ่งในการสร้างความการประกันคุณภาพการศึกษากลายเป็นความจริงของสังคม 3. อิทธิพลของวาทกรรมนโยบายประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษาพบว่านโยบายประกันคุณภาพมิได้ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง ในทางตรงกันข้าม งานด้านประกันคุณภาพการศึกษาดังกล่าวเป็นการเพิ่มภาระงานให้กับอาจารย์ผู้รับผิดชอบ อีกทั้งนักศึกษาก็ไม่ได้มีคุณภาพตามเจตนารมณ์ของการประกันคุณภาพการศึกษาแต่อย่างใด ภายใต้การวิจัยนี้ ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เสนอว่า สมศ. ควรมีระบบฐานข้อมูลที่อานวยความสะดวกแก่ผู้ปฏิบัติ หรือฐานข้อมูลร่วมกันของหน่วยงานผู้ประเมินสถานศึกษา โดยวิธีนี้จะเป็นการลดการทำงานซ้าซ้อนได้ อีกทั้งควรมีการจำแนกประเภทของมหาวิทยาลัยหรือสภาบันอุดมศึกษา ทั้งนี้เพื่อให้สะดวกต่อการจัดการประกันคุณภาพของแต่ละมหาวิทยาแต่ละประเภท ซึ่งจะสามารถลดแรงเสียดทางหรือแรงต่อต้านจากผู้รับการประเมินได้เป็นอย่างดี | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | สำนักงานรับรองมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา -- วิจัย | en_US |
dc.subject | ประกันคุณภาพการศึกษา | en_US |
dc.title | วาทกรรมนโยบายประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษาของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา | en_US |
dc.title.alternative | Discourse on assessment policy of the office for national education standards and quality assessment | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | This dissertation aims (1) to study how the discourse on assessment policy was constructed (2) to study how the power, knowledge and expert as tool of policy administration (3) to study influence of assessment policy. The dissertation is the qualitative research. Its data was collected by In-depth interview, focus group and observation. Result of the study are indicated below. 1. The discourse on assessment policy was constructed by discourse problem and also power, knowledge and expert relate to assessment policy construction. 2. The study results found that the discourse on Assessment Policy of The Office for National Education Standards and Quality Assessment was administrated by power and knowledge. Its function is construct social reality 3. The study results found that assessment policy do not promote a high education quality. That policy, in contrary, was regarded as a increasing burden of a lecturer. From the studying, The Office for National Education standard and quality Assessment should have data base system to convenience for the university operators. Or Education Appraisal Office data base system, This way will decrease the duplicated works and save time. And it should be separate of the university and national education institute for the convenience in quality assessment appraisal management for each university which it will depress and much better to the opposition to the appraisal personnel. | en_US |
dc.description.degree-name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาเอก | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | รัฐประศาสนศาสตร์ | en_US |
Appears in Collections: | PAI-PA-D-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
SERSAK ROOPTAM.pdf | 5.58 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.