Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1207
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วลัยภรณ์ นาคพันธ์ุ | - |
dc.contributor.author | โพธิ์พงศ์ ฉัตรนันทภรณ์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-08-05T07:24:10Z | - |
dc.date.available | 2022-08-05T07:24:10Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1207 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศล.ม. (คอมพิวเตอร์อาร์ต)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2557 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบสื่อโฆษณาแอนิเมชันโดยใช้ภาษาภาพยนตร์แบบดราม่า ซึ่งประกอบไปด้วย การแสดงสีหน้า ภาษาร่างกาย เพลงประกอบ เนื้อเรื่อง การจัดแสงสี ซึ่งนำเสนอผ่านการรณรงค์โครงการหยุดการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น STOP TEEN MOM ผู้วิจัยได้นำสื่อโฆษณาแอนิเมชันโดยใช้ภาษาภาพยนตร์แบบดราม่าไปนำเสนอกลุ่มเป้าหมายเด็กนักเรียน 13-15 ปี จำนวน 100 คน ซึ่งเป็นเพศชาย 26 คน หญิง 74 คน และทำแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับสื่อพบว่า ซึ่งหลังรับชมสื่อมีความรู้สึกเฉยๆ ร้อยละ 7 ตลกร้อยละ 1 เศร้าร้อยละ 92 เมื่อผู้วิจัยถามว่าองค์ประกอบใดในเรื่องทำให้รู้สึกเศร้ามากที่สุด พบว่าการแสดงสีหน้าร้อยละ 37 การแสดงท่าทางร้อยละ 22 เพลงประกอบร้อยละ 12 บทละครร้อยละ 20 แสงสีร้อยละ 4 ต่อมาผู้วิจัยได้ให้กลุ่มเป้าหมายแสดงความคิดเห็นหลังชมสื่อเกี่ยวกับโครงการ STOP TEEN MOM พบว่า ร้อยละ 99 เกิดความกลัวที่จะตั้งครรภ์ ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าสื่อโฆษณาแอนิเมชันรณรงค์หยุดการตั้งครรภ์ไม่พร้อมของวัยรุ่น โดยใช้ภาษาภาพยนตร์แบบดราม่า ในด้านของการทำแอนิเมชันโดยใช้ภาษาภาพยนตร์แบบดราม่าถือว่าประสบความสำเร็จเนื่องจากกลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าใจเนื้อหาที่ต้องการสื่อโดยไม่ต้องมีบทพูดแต่ใช้การสื่อสารด้วยภาษาภาพยนตร์ซึ่งทำให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้สึกเศร้าดราม่าไปกับตัวสื่อซึ่งองค์ประกอบที่มีผลต่อผู้ชมจากมากไปน้อยคือ การแสดงสีหน้า การแสดงท่าทาง บทละคร เพลงประกอบและแสงสีตามลำดับ ในส่วนของผลพลอยคือการรณรงค์หยุดการตั้งครรภ์ไม่พร้อม “STOP TEEN MOM” ซึ่งนำเสนอในรูปแบบสื่อโฆษณาแอนิเมชันโดยใช้ภาษาภาพยนตร์แบบดราม่านั้นถือว่าประสบความสำเร็จเพราะร้อยละ 99 เกิดความกลัวที่จะตั้งครรภ์ในวัยเรียน ถึงแม้ว่าอาจไม่ช่วยลดจำนวนการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นแต่ตัวสื่อก็ช่วยสร้างเกราะป้องกันทางด้านจิตใจให้กับผู้ชมได้ | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยรังสิต | en_US |
dc.subject | สื่อโฆษณา -- วิจัย | en_US |
dc.subject | แอนิเมชั่น -- การผลิต | en_US |
dc.subject | การตั้งครรภ์ -- ในวัยรุ่น -- วิจัย | en_US |
dc.title | โครงการสื่อโฆษณาแอนิเมชันรณรงค์หยุดการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นโดยใช้ภาษาภาพยนตร์แบบดราม่า | en_US |
dc.title.alternative | Media campaign in dramatic form 3D animation | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.description.other-abstract | The purpose of this project is to study the production of 3D dramatic animation design. the way of using facial & body acting, background music, lighting systems which will be presented thru the campaign. The researcher has presented the animation as media among the target group of 100 students which the age ranging from 13 - 15 years old, 26 males and 74 females. The result by questioning the students after watching the media has shown that 7% no comment, 1% hilarious and 92% emotional. By asking the students " What has given the most emotional touch of feeling?". The result was indicated that 37% facial acting, 22% body acting, 20% play writing, 12% background music, and 4% lighting colors. The comments from the group indicated that 99% afraid of getting pregnant. Conclusion: The study has shown that by using the 3D animation as media to give the awareness of premature pregnancy among teenagers was successful in a way. Even though it might not be 100% of prevention but it has given a thought to those teenagers which it is resulting in giving the fear of getting pregnant up to 99%. | en_US |
dc.description.degree-name | ศิลปมหาบัณฑิต | en_US |
dc.description.degree-level | ปริญญาโท | en_US |
dc.contributor.degree-discipline | คอมพิวเตอร์อาร์ต | en_US |
Appears in Collections: | DIA- ComArt-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
POPONG CHATNUNTAPORN.pdf | 4.78 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.