Please use this identifier to cite or link to this item: https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1213
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสรชาติ วิชย สุวรรณพรหม-
dc.contributor.authorปิยะวรรณ สุดทะโส-
dc.date.accessioned2022-08-05T08:14:19Z-
dc.date.available2022-08-05T08:14:19Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1213-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (รป.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2557en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบการประเมินผลการปฏิบัติราชการในระดับ บุคคลของข้าราชการกองบัญชาการกองทัพไทย ศึกษาการรับรู้ระบบการประเมินผลการปฏิบัติ ราชการในระดับบุคคลของข้าราชการกองบัญชาการกองทัพไทย ศึกษาข้อมูลส่วนบุคคลที่ส่งผล ต่อการรับรู้ระบบการประเมินผลการปฏิบัติราชการในระดับบุคคลของข้าราชการกองบัญชาการ กองทัพไทย และเพื่อนําผลการศึกษาไปพัฒนาระบบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของ ข้าราชการกองบัญชาการกองทัพไทย 0 ผลการวิจัย พบว่า จากกลุ่มตัวอย่าง จํานวน 37ร ราย โดยสัดส่วนเป็นเพศชายสูงกว่า เพศหญิง คือเพศชายร้อยละ 54.1 และเพศหญิงร้อยละ 45.9 นับว่าเป็นสัดส่วนที่ไม่ต่างกันมากนัก ส่วนใหญ่มีอายุในช่วง 28-37 ปี ร้อยละ 35.5 นับได้ว่าเป็นช่วงอายุของวัยทํางาน การศึกษา ร้อยละ 63.2 มีการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี ชั้นยศ ส่วนใหญ่จะมีชั้นยศจ่าสิบตรี-จ่าสิบเอก ร้อยละ 30.1 และระยะเวลาการทํางานส่วนใหญ่มีระยะเวลาการทํางาน 21 ปีขึ้นไป ร้อยละ 28.5 การรับรู้ระบบการประเมินผลการปฏิบัติราชการในระดับบุคคลของข้าราชการ กองบัญชาการกองทัพไทยอยู่ในระดับมาก ชั้นยศที่แตกต่างกันจะมีผลต่อการรับรู้ระบบการ ประเมินผลการปฏิบัติราชการในระดับบุคคลของข้าราชการกองบัญชาการกองทัพไทย แตกต่างกันen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยรังสิตen_US
dc.subjectข้าราชการ -- การประเมินผลen_US
dc.titleการรับรู้ระบบการประเมินผลการปฏิบัติราชการในระดับบุคคลของข้าราชการกองบัญชาการกองทัพไทยen_US
dc.title.alternativeIndividual perception towards performance appraisal of royal Thai armed porces headquarters officeren_US
dc.typeThesisen_US
dc.description.other-abstractThe objective of this research were to study perception to the performance appraisal system of Royal Thai Armed Forces Headquarters officer, to study the perception performance appraisal system of Royal Thai Armed Forces Headquarters officer, to study the personal data that affect individual perception performance appraisal system and In a study to develop a performance appraisal system of Royal Thai Armed Forces Headquarters officer. The results showed that from the sample of 375 cases, the proportion is higher than the male. Male is 54.1 percent and female 45.9 percent female figure is considered not much different, mostly aged between 28-37 years, 35.5 percent of the working age. The study background 63.2 percent in bachelor degree rank, most will have the rank of Master Sergeant Third Class (3MSGT) - Master Sergeant First Class (1MSGT) of 30.1 percent and the duration of the work, most of the time working 21 years to 28.5 percent. Individual perception towards performance appraisal of Royal Thai Armed Forces Headquarters Officer was high. The class rank different affect Individual perception towards performance appraisal of Royal Thai Armed Forces Headquarters Officer differenten_US
dc.description.degree-nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.description.degree-levelปริญญาโทen_US
dc.contributor.degree-disciplineรัฐประศาสนศาสตร์en_US
Appears in Collections:PAI-PA-M-Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SUB-LIEUTENANT PIYAWAN SUDTHASO.pdf2.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.