Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1214
Title: | การจัดลำดับแนวทางแก้ปัญหาขององค์กรในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับโซ่อุปทาน โดยใช้กระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์และวิธีฟัซซี่ท็อปสิส |
Other Titles: | Ranking the solutions of an organization in supply chain information technology adoption by applying the analytic hierarchy process : AHP and fuzzy technique for order preference by similarity to an ideal solution : fuzzy topsis |
Authors: | มนัสชนก บริสุทธิญาณี |
metadata.dc.contributor.advisor: | ณกมล จันทร์สม, บุษบา พฤกษพันธุ์รัตน์ |
Keywords: | เทคโนโลยีสารสนเทศ -- วิจัย;องค์กร -- การบริหาร -- วิจัย;โซ่อุปทาน -- วิจัย;ธุรกิจ -- การจัดการ -- วิจัย |
Issue Date: | 2558 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยรังสิต |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดลาดับความสำคัญของอุปสรรคและแนวทางการแก้ปัญหาขององค์กรในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับโซ่อุปทาน เพื่อกาหนดแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสมภายใต้อุปสรรคที่เกิดขึ้น รวมถึงระบุอุปสรรคที่สำคัญและแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสมของภาคธุรกิจการผลิตกับภาคธุรกิจบริการและการขาย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ บริษัทที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสนับสนุนงานด้านโลจิสติกส์ของสำนักโลจิสติกส์ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ทำการเก็บรวบรวมข้อมูล 2 ระยะ โดยระยะที่ 1 กลุ่มตัวอย่าง คือ บริษัทในภาคธุรกิจการผลิตและภาคธุรกิจบริการและการขาย ระยะที่ 2 กลุ่มตัวอย่าง คือ บริษัทกรณีศึกษาของทั้ง 2 กลุ่มภาคธุรกิจ ลำดับความสำคัญของอุปสรรคในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับโซ่อุปทานในองค์กรได้ถูกวิเคราะห์โดยกระบวนการลาดับชั้นเชิงวิเคราะห์ (Analytic Hierarchy Process: AHP) ผลการวิจัยในระยะที่ 1 พบว่าลำดับความสาคัญของอุปสรรคในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับโซ่อุปทาน ในภาคธุรกิจการผลิต เรียงจากมากไปน้อย คือ อุปสรรคด้านบุคคล อุปสรรคด้านกลยุทธ์ อุปสรรคด้านโซ่อุปทาน อุปสรรคด้านโครงการ และอุปสรรคด้านเทคโนโลยี ตามลำดับ ในภาคธุรกิจบริการและการขาย อุปสรรคหลักที่มีความสำคัญเรียงจากมากไปน้อย คือ อุปสรรคด้านเทคโนโลยี อุปสรรคด้านโครงการ อุปสรรคด้านกลยุทธ์ อุปสรรคด้านโซ่อุปทาน และอุปสรรคด้านบุคคล และจากการศึกษาบริษัทกรณีศึกษาในระยะที่ 2 ของการวิจัยพบว่าอุปสรรคหลักที่ได้มีความสำคัญสอดคล้องกับผลการศึกษาในระยะที่ 1 ของทั้งภาคธุรกิจการผลิตและภาคธุรกิจบริการและการขายลาดับความสาคัญของแนวทางการแก้ปัญหาในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับโซ่อุปทานคานวณโดยใช้วิธีฟัซซี่ท็อปสิส (Fuzzy TOPSIS) ผลการวิจัยในระยะที่ 1 พบว่าลาดับความสาคัญของแนวทางแก้ปัญหาของการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับโซ่อุปทาน ในภาคธุรกิจการผลิต และภาคธุรกิจบริการและการขาย มีลักษณะที่เหมือนกัน และยังสอดคล้องกันทั้งการศึกษาระยะที่ 2 ด้วย โดยแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสมที่สุดคือ การใช้ที่ปรึกษาจากภายนอกเพิ่มขึ้น และการเลือกทีมผู้ขายซอฟต์แวร์ รองลงมา คือ การสร้างโครงร่างของระบบและดูแลรักษาระบบ จากผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างของอุปสรรคและแนวทางแก้ปัญหาขององค์กรในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับโซ่อุปทานระหว่างภาคธุรกิจการผลิตกับภาคธุรกิจบริการและการขาย และผลที่ได้นี้สามารถนาไปกาหนดแนวทางป้องกันอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้น รวมทั้งเตรียมแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสมของภาคธุรกิจการผลิตกับภาคธุรกิจบริการและการขาย |
metadata.dc.description.other-abstract: | The objectives of this research are to rank the barriers and the solutions of an organization in supply chain information technology adoption in order to set the appropriate solutions under the barriers occurred. Moreover, the major barriers and the proper solutions of both industrial and service and sale sectors are identified. The samples are companies, which participate in a promotion of applying information technology project of logistics unit, the Bureau of Logistics Department, Department of Primary Industries and Mines. Data collection has two phases. In phase 1, the samples are companies in both industrial and service and sale sectors. In phase 2, the samples are the case studies of both sectors. The rank of the barriers in supply chain information technology adoption in an organization is analyzed by Analytic Hierarchy Process (AHP). The results of the first phase show that the rank of barriers to supply chain information technology adoption of industrial sector in descending order is individual barriers, strategy, supply chain, project and technological barriers. The rank of service and sale sector in descending order is technological barriers, project, strategy, supply chain, and individual barriers. The results of case studies in phase 2 show that the major barriers are consistent with the results of phase 1 for both industrial and service and sale. The Rank of solutions in supply chain information technology adoption is calculated by fuzzy technique for order preference by similarity to an ideal solution (Fuzzy TOPSIS). The results exhibit that the rank of solutions of supply chain information technology adoption in industrial and service and sale sectors are even and also consistent with the study of phase 2. The most appropriate solutions are use of external consultants and select vendor team. The next is establishing system configuration and maintaining. These results show the difference of the barriers and solutions of an organization in supply chain information technology adoption between industrial and service and sale sectors. They can use to set the guideline for barrier prevention and to prepare the suitable solutions for both industrial and service and sale sectors. |
Description: | ดุษฎีนิพนธ์ (บธ.ด. (การจัดการโลจิสติกส์)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2558 |
metadata.dc.description.degree-name: | บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต |
metadata.dc.description.degree-level: | ปริญญาเอก |
URI: | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1214 |
metadata.dc.type: | Thesis |
Appears in Collections: | BA-BA-D-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Manuschanok Borisutiyanee.pdf | 11.52 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.