Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1233
Title: | กระบวนการเปลี่ยนแปลงเศษวัสดุเหลือใช้กับการออกแบบเพื่อลดปัญหาสิ่งแวดล้อม |
Other Titles: | Upcycling design for reduce environmental problems |
Authors: | มนัสสี ชิดโฉม |
metadata.dc.contributor.advisor: | ไพจิตร อิ่งศิริวัฒน์ |
Keywords: | การออกแบบ -- วิจัย;เศษวัสดุ -- วิจัย;ปัญหาสิ่งแวดล้อม -- วิจัย;การเปลี่ยนแปลง |
Issue Date: | 2558 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยรังสิต |
Abstract: | งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการเปลี่ยนแปลงเศษวัสดุเหลือใช้ที่ไม่สามารถใช้งานได้ตามหน้าที่เดิมได้แล้ว ได้แก่ เปลือกผลไม้ นามาผ่านกระบวนการผลิตใหม่ให้กลายเป็นวัสดุใหม่ที่มีคุณภาพ เพื่อนามาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าสูงขึ้น เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และช่วยลดปริมาณขยะ วิธีการวิจัยเริ่มจากศึกษาและค้นหาลักษณะทางกายภาพที่มีความน่าสนใจของเปลือกผักผลไม้แต่ละชนิด โดยเลือกใช้ผลไม้ที่มีโครงสร้างเปลือกแข็งแรง มีความยืดหยุ่น ทนความร้อนได้สูง มีสีสันสวยงาม และผลไม้ที่มีเส้นใยค่อนข้างมากมาทาการทดลองวัสดุ ค้นหาวัสดุตัวกลางในการยึดเหนี่ยว สัดส่วน ทดสอบคุณสมบัติและประสิทธิภาพในการสร้างวัสดุใหม่ที่มีความแข็งแรง สวยงาม และสามารถนามาผลิตชิ้นงานได้จริง ผลการวิจัยคือ ได้วัสดุใหม่ที่มาจากเปลือกผลไม้มีความน่าสนใจ มีความเป็นธรรมชาติ มีกลิ่น สี และลวดลายที่น่าสนใจ มีความแข็งแรง ยืดหยุ่น มีน้าหนักเบา สามารถนามาผลิตชิ้นงานได้จริง เป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งไว้ |
metadata.dc.description.other-abstract: | The objective of this research was to investigate the recycling of waste residues including fruit wastes and fruit skins under the new production process to create high value, quality and environmentally friendly product as an effective way to reduce wastes. The research methodology began from studying attractively physical characteristics of fruit skins by selecting the fruit that has a strong peel structure, flexible, high heat resistance, colorful and quite a lot of fiber for testing to make new material, conducting experiments by testing natural binder, searching for the proportion to create new, strong, and beautiful material, and making the real products. The results showed that the new material made from fruit peel was attractive, organic and contained interesting fragrance, color and texture. It was strong, flexible and lightweight. It can be used as a strong, environmental friendly product, which met the target objective. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ศล.ม. (การออกแบบ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2558 |
metadata.dc.description.degree-name: | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
metadata.dc.description.degree-level: | ปริญญาโท |
metadata.dc.contributor.degree-discipline: | การออกแบบ |
URI: | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1233 |
metadata.dc.type: | Thesis |
Appears in Collections: | Art-AD-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Manassi Chidchom.pdf | 8.61 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.