Please use this identifier to cite or link to this item:
https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1238
Title: | การรับรู้ในสุนทรียศาสตร์ของผู้บกพร่องทางการมองเห็น |
Other Titles: | Perception of aesthetics by the visually impaired |
Authors: | ธนู อ่อนอุดม |
metadata.dc.contributor.advisor: | สุวิทย์ รัตนานันท์ |
Keywords: | การมองเห็น;การรับรู้;ตาบอด;สายตาผิดปกติ;สุนทรียศาสตร์ -- วิจัย |
Issue Date: | 2558 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยรังสิต |
Abstract: | อักษรเบรลล์ เป็นภาษาการสื่อสารที่จา เป็นของผู้พกพร่องทางการมองเห็น ซึ่งปัจจุบันยังมีสื่อการสอนเกี่ยวกับอักษรเบรลล์อยู่ในวงจากัดหรือภายในโรงเรียนสอนคนตาบอดโดยเฉพาะเท่านั้นซึ่งวัตถุประสงค์ของการศึกษาในครั้งนี้เพื่อศึกษาการรับรู้ในสัมผัสโดยเฉพาะการสัมผัสทางกายเพื่อนาข้อมูลมาใช้ในการออกแบบอุปกรณ์สาหรับกระบวนการเรียนรู้อักษรเบรลล์ (Braille)ของผู้บกพร่องทางสายตาซึ่งเป็นสื่อที่สาคัญที่ใช้ในการสื่อสารของผู้พิการทางสายตาให้มีความง่ายขึ้นซึ่งกา หนดประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือผู้พิการทางการมองเห็น ที่เริ่มเรียนรู้อักษรเบรลล์อายุตั้งแต่อายุ 5-30 ปี โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์และการสังเกตุพฤติกรรมการเรียนและการอ่านเขียนอักษรเบรลล์ และรวบรวมข้อมูลข้อปัญหาเพื่อนามาออกแบบและแก้ไขปัญหานั้นโดยใช้หลักการออกแบบที่คำนึงถึงความสาคัญของผู้ใช้นา มาเป็นหลักในการออกแบบสื่อการสอนสาหรับการเรียนรู้ อักษรเบรลล์ (Braille) ซึ่งอุปกรณ์ดั้งเดิมมีข้อจา กัดในการใช้ของผู้บกพร่องทางการมองเห็นที่เริ่มเรียนรู้อักษรเบรลล์และผู้สอน ในงานวิจัยนี้ได้ออกแบบอุปกรณ์การเรียนรู้เป็ นชุดการสอน (Instruction Media) ซึ่งชุดการสอนนี้สามารถประกอบตัวอักษรเบรลล์ได้ทีละตัว (Cell Alphabet) โดยการสร้างจุดนูนในแต่ละตัวอักษรประกอบเป็นคา ศัพท์และประโยคได้ซึ่งผลการศึกษาพบว่าใช้ได้ดีสาหรับผู้บกพร่องทางสายตาที่เริ่มเรียนรู้อักษรเบรลล์นอกจากนั้นยังใช้เป็นเครื่องมือการสอนอักษรเบรลล์สาหรับบุคคลทั่วไปที่สามารถใช้เรียนรู้อักษรเบรลล์เพื่อนา ไปสอนผู้บกพร่องทางการมองเห็นด้วยตนเองได้ด้วย |
metadata.dc.description.other-abstract: | Braille is essential communication of impaired vision, but also learning about Braille in an infinite loop or a school for the blind in particular, with the objectives of the study to design a device for learning Braille (Braille) of the visually impaired, which is an important medium for the communication of the visually impaired to be easier, which defines population samples used in the research. Impaired vision is started. Learn Braille age from 5-30 years of age by means of interviews and observations of behavior and learning to read and write. Braille and gather information for designing the problem and fix it using the design principles that take into account the importance of leadership. Primarily in the design of teaching materials for learning Braille (Braille) that originally contained the restrictions on the use of impaired vision and instructor who just started learning Braille by design learning device is a set of instruction (Instruction Media) This instruction set can assemble Braille one by one (Cell Alphabet) compose words and sentences, which the study found to be available for the visually impaired started learning Braille is also used as a teaching tool Braille for the visually impaired and the person they're going to be learning for teaching the visually impaired. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ศล.ม. (การออกแบบ)) -- มหาวิทยาลัยรังสิต, 2558 |
metadata.dc.description.degree-name: | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
metadata.dc.description.degree-level: | ปริญญาโท |
metadata.dc.contributor.degree-discipline: | การออกแบบ |
URI: | https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/1238 |
metadata.dc.type: | Thesis |
Appears in Collections: | Art-AD-M-Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Tanoo Onudom.pdf | 6.36 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.